ออกจากระบบ
เข้าสู่ระบบ
หรือ
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ชื่อผู้ใช้:
รหัสผ่าน:
ลืมรหัสผ่าน ?
ก
ก
ก
iOPAC
ค้นหา
ข่าวสาร
ข้อมูลสมาชิก
ยืมต่อ
ค่าปรับ
สถิติ
รายงาน
ช่วยเหลือ
คู่มือ
ปิด
ข้อมูลบรรณานุกรม
#1148668
แบบย่อ
|
แบบเต็ม
|
MARC
ตัวอย่าง
เพิ่มแท็ก
เพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แนะนำ
สั่งซื้อ
บันทึก
ส่งออก
Citation
ความนิยม
ประเภทวัสดุ
หนังสือ
ชื่อเรื่อง
ไป (ไม่) ถึงฝั่งฝัน ระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง แนวคิดกรณีศึกษาและการนำมาใช้ในประเทศไทย / ปุรวิชญ์ วัฒนสุข
Dewey Call #
324 ป47ป
ผู้แต่ง
ปุรวิชญ์ วัฒนสุข
ผู้แต่งเพิ่มเติม
วีระ หวังสัจจะโชค
หัวเรื่อง
การเลือกตั้ง
พรรคการเมือง
ISBN
9786164761964
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2564
ชื่อเรื่อง
ไป (ไม่) ถึงฝั่งฝัน ระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง แนวคิดกรณีศึกษาและการนำมาใช้ในประเทศไทย / ปุรวิชญ์ วัฒนสุข
Dewey Call #
324 ป47ป
ผู้แต่ง
ปุรวิชญ์ วัฒนสุข
ผู้แต่งเพิ่มเติม
วีระ หวังสัจจะโชค
ISBN
9786164761964
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2564
เนื้อหา
แนวคิด และกรณีศึกษาของระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งในต่างประเทศ : งานวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับระบบการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้ง -- กรอบแนวการศึกษา (Approach) และความคิดรวบยอด (Conceptual Framework) : วิธีการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งกับการพัฒนาประชาธิปไตย -- การเลือกตั้งขั้นต้น : แนวคิดและรูปแบบ -- สำรวจระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งเปรียบเทียบจากต่างประเทศ -- ปัญหาและอุปสรรคของระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งภายใต้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 : กระบวนการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งภายใต้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 : ที่มาและหลักการตามกฎหมาย -- กระบวนการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 -- ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ -- ปัญหาและอุปสรรคของกระบวนการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง -- รูปแบบและกระบวนการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งเพื่อให้เกิด "ตัวแบบ" ที่เป็นระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งที่เป็นประชาธิปไตย
หัวเรื่อง
การเลือกตั้ง
พรรคการเมือง
ลักษณะทางกายภาพ
200 หน้า
LDR
04279nam a2200217 4500
005
20220526111332.0
008
220525s2564 th a ||| | tha d
020
__
‡a9786164761964
040
__
‡aSongkhla Rajabhat University
082
04
‡a324‡bป47ป
100
0_
‡aปุรวิชญ์ วัฒนสุข
245
10
‡aไป (ไม่) ถึงฝั่งฝัน ระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง แนวคิดกรณีศึกษาและการนำมาใช้ในประเทศไทย /‡cปุรวิชญ์ วัฒนสุข
260
__
‡aกรุงเทพฯ :‡bสถาบันพระปกเกล้า,‡c2564
300
__
‡a200 หน้า
505
2_
‡aแนวคิด และกรณีศึกษาของระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งในต่างประเทศ : งานวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับระบบการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้ง -- กรอบแนวการศึกษา (Approach) และความคิดรวบยอด (Conceptual Framework) : วิธีการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งกับการพัฒนาประชาธิปไตย -- การเลือกตั้งขั้นต้น : แนวคิดและรูปแบบ -- สำรวจระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งเปรียบเทียบจากต่างประเทศ -- ปัญหาและอุปสรรคของระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งภายใต้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 : กระบวนการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งภายใต้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 : ที่มาและหลักการตามกฎหมาย -- กระบวนการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 -- ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ -- ปัญหาและอุปสรรคของกระบวนการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง -- รูปแบบและกระบวนการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งเพื่อให้เกิด "ตัวแบบ" ที่เป็นระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งที่เป็นประชาธิปไตย
520
__
‡aวิธีการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกรับเลือกตั้ง (candidate selection methods) เป็นการศึกษาที่มีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับการศึกษาในทางสาขาวิชาการเมืองเปรียบเทียบ อันเนื่องมาจากกระบวนการและระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งบ่งบอกถึงหลักการของความเป็นประชาธิปไตย (democratic principles) พรรคการเมือง จนไปถึงการแข่งขันในการเลือกตั้งที่สะท้อนประชาธิปไตยของประเทศ ในประเทศไทยนั้น พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 ได้วางหลักให้รายละเอียดเกี่ยวกับระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งในประเทศอย่างเข้มข้นบนหลักการการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งขั้นต้น หรือไรมารี (primary vote) โดยกำหนดให้พรรคการเมืองต้องดำเนินการจัดการเลือกตั้งขั้นต้น ซึ่งได้มีการกำหนดเงื่อนไขว่าพรรคการเมืองที่ต้องการส่งผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งที่ต้องมีการจัดตั้งสาขาพรรค ตัวแทนพรรคประจำจังหวัดที่มีพื้นที่รับผิดชอบในเขตเลือกตั้ง และต้องมีจำนวนสมาชิกพรรคอย่างน้อย 100 คนในเขตเลือกตั้งที่มีการจัดตั้งตัวแทนพรรคประจำจังหวัด งานวิจัยนี้ต้องการศึกษาว่า 1.) เหตุใดระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง ภายใต้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 จึงไม่สามารถปฏิบัติได้จริงและ 2.) รูปแบบและกระบวนการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงในประเด็นใด ทั้งในเชิงกฎหมายและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิด "ตัวแบบ" ที่เป็นระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งที่เป็นประชาธิปไตยและสามารถปฏิบัติจริงได้ ผลการศึกษาพบว่า เงื่อนไขการดำเนินการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 ทั้งการจัดตั้งสาขาพรรค ตัวแทนพรรคประจำจังหวัด และการหาสมาชิกให้เพียงพอตามกฎหมายที่จะดำเนินการจัดการเลือกตั้งขั้นต้นได้ เป็นเงื่อนไขที่ทำได้ยากในทางปฏิบัติ และไม่ได้ส่งเสริมให้พรรคการเมืองเกิดความเข้มแข็ง และสร้างการมีส่วนร่วมทางการเมืองได้อย่างแท้จริง เป็นแต่เพียงการดำเนินการให้ครบถ้วนตามกฎหมายเพื่อให้พรรคการเมืองสามารถส่งผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งได้ และการที่จะสร้างตัวแบบระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งที่เป็นประชาธิปไตยและปฏิบัติได้จริง ต้องเริ่มต้นจากการแก้ไขพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 โดยอนุญาตให้พรรคสามารถออกแบบกระบวนการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งได้เอง งานวิจัยนี้ให้มีการให้ผู้สมัครเข้ารับการสรรหาเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งลงแข่งขันกันเป็นชุดรายชื่อกลุ่มจังหวัด มีการนำวิธีการถ่วงน้ำหนัก (weighted system) มาสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง โดยให้คะแนนเสียงเลือกผู้ลงสมัครแข่งขัน กับคะแนนเสียงจากกรรมการบริหารพรรค มีสัดส่วนอย่างละ 50% เท่าๆกัน รวมทั้งมีการกระจายอำนาจในการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งทั้งในเชิงพื้นที่ผ่านกลุ่มจังหวัด และเชิงสังคมผ่านตัวแทนกลุ่มเฉพาะ การเลือกตั้งขั้นต้นไม่จำเป็นต้องจัดวันเดียวกัน แต่อาจจัดเป็นกลุ่มจังหวัดในช่วงเวลาที่แตกต่างกันได้และการเลือกตั้งนับเป็น "ไตรมาสเลือกตั้ง" (election quarter) ระยะเวลา 90 วัน โดย 30 วันแรกเป็นช่วงการเลือกตั้งขั้นต้น และอีก 60 วันเป็นช่วงประกาศผู้เป็นตัวแทนพรรคเพื่อแข่งขันในวันเลือกตั้งทั่วไป
650
_7
‡aการเลือกตั้ง
650
_7
‡aพรรคการเมือง
700
0_
‡aวีระ หวังสัจจะโชค
850
__
‡aSKRU
ทรัพยากร
เลือกห้องสมุด :
ทั้งหมด
วิทยาเขตสตูล
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บาร์โค้ด
เลขหมู่/เล่มที่
Collection
ห้องสมุดสาขา
สถานที่จัดเก็บ
สถานะ
200750
324 ป47ป
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1
อยู่บนชั้น
200751
324 ป47ป ฉ.2
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1
อยู่บนชั้น
จองทรัพยากร
สาขาที่รับ
วันที่คาดว่าจะรับ
ขอใช้หนังสือด่วน
เงื่อนไข
1. ส่งคำขอเวลา 8.30-11.00น รับหนังสือเวลา 16.00น.
2. ส่งคำขอหลังเวลา 11.00น. รับหนังสือในวันทำการถัดไป
3. ส่งคำขอ วันศุกร์ช่วงบ่าย หรือ วันเสาร์-อาทิตย์ รับหนังสือวันจันทร์ 16.00น.
4. ติดต่อรับหนังสือด่วนได้ที่ เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 3 *ภายใน 3 วัน*
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 2352
ความเห็น
|
บทวิเคราะห์
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แบ่งปันให้กับเพื่อนทั้งหมด
เพิ่ม Tag
สร้าง Tag ใหม่
แผนที่ตั้งทรัพยากร
Preview Dialog
Citation
อ้างอิง APA เวอร์ชัน 7
ปุรวิชญ์ วัฒนสุข, และ วีระ หวังสัจจะโชค. (2564).
ไป (ไม่) ถึงฝั่งฝัน ระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง แนวคิดกรณีศึกษาและการนำมาใช้ในประเทศไทย .
กรุงเทพฯ :สถาบันพระปกเกล้า
อ้างอิง MLA เวอร์ชัน 9
ปุรวิชญ์ วัฒนสุข, และ วีระ หวังสัจจะโชค.
ไป (ไม่) ถึงฝั่งฝัน ระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง แนวคิดกรณีศึกษาและการนำมาใช้ในประเทศไทย .
กรุงเทพฯ :สถาบันพระปกเกล้า, 2564.
อ้างอิง Chicago เวอร์ชัน 17
ปุรวิชญ์ วัฒนสุข, และ วีระ หวังสัจจะโชค. 2564.
ไป (ไม่) ถึงฝั่งฝัน ระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง แนวคิดกรณีศึกษาและการนำมาใช้ในประเทศไทย .
กรุงเทพฯ :สถาบันพระปกเกล้า.
อ้างอิง Vancouver เวอร์ชัน 2
ปุรวิชญ์ วัฒนสุข, และ วีระ หวังสัจจะโชค. ไป (ไม่) ถึงฝั่งฝัน ระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง แนวคิดกรณีศึกษาและการนำมาใช้ในประเทศไทย . กรุงเทพฯ :สถาบันพระปกเกล้า; 2564.
สถิติ
อันดับการยืม / จากทั้งหมด
ไม่มีการยืม
อันดับการใช้งานภายใน/จากทั้งหมด
ไม่มีการใช้งาน
คะแนน/ผู้โหวต
0.0/0
ใช้ล่าสุดเมื่อ
-
จำนวนการยืม
0
เปิดดู (ครั้ง)
69
เพิ่มไปยังรายการ
0
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด
ผลการทำงาน
Undefined result.