เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1148671    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องหลากมิติ หลายมุมมอง : การกำหนดนโยบายพรรคการเมืองไทย / ธนพันธ์ ไล่ประกอบทรัพย์
Dewey Call #324.2593 ธ15ห
ผู้แต่งธนพันธ์ ไล่ประกอบทรัพย์
หัวเรื่องพรรคการเมือง--วิจัย
ISBN9786164762022
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2564
ชื่อเรื่องหลากมิติ หลายมุมมอง : การกำหนดนโยบายพรรคการเมืองไทย / ธนพันธ์ ไล่ประกอบทรัพย์
Dewey Call #324.2593 ธ15ห
ผู้แต่งธนพันธ์ ไล่ประกอบทรัพย์
ISBN9786164762022
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2564
เนื้อหาพรรคการเมืองกับกระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ -- บริบททางการเมืองการปกครอง องค์กรพรรคการเมืองกับการกำหนดแนวนโยบายของพรรคการเมือง -- กระบวนการวิเคราะห์และทำความเข้าใจการกำหนดนโยบายของพรรคการเมืองไทย -- เปรียบเทียบกระบวนการกำหนดแนวนโยบายของพรรคการเมืองไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 -- ความสัมพันธ์ระหว่างบริบททางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ความเป็นสถาบันของพรรคการเมือง และแนวนโยบายของพรรคการเมืองไทย -- การพัฒนากระบวนการกำหนดแนวนโยบายของพรรคการเมืองบทสรุป ข้อเสนอแนะ และข้อพิจารณาการศึกษาในอนาคต
หัวเรื่องพรรคการเมือง--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ226 หน้า : ภาพประกอบ
LDR 05177nam a2200193 4500
005 20220526153011.0
008 220526s2564 th a ||| | tha d
020__‡a9786164762022‡c225
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a324.2593‡bธ15ห
1000_‡aธนพันธ์ ไล่ประกอบทรัพย์
24510‡aหลากมิติ หลายมุมมอง : การกำหนดนโยบายพรรคการเมืองไทย /‡cธนพันธ์ ไล่ประกอบทรัพย์
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bสถาบันพระปกเกล้า,‡c2564
300__‡a226 หน้า : ‡bภาพประกอบ
5052_‡aพรรคการเมืองกับกระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ -- บริบททางการเมืองการปกครอง องค์กรพรรคการเมืองกับการกำหนดแนวนโยบายของพรรคการเมือง -- กระบวนการวิเคราะห์และทำความเข้าใจการกำหนดนโยบายของพรรคการเมืองไทย -- เปรียบเทียบกระบวนการกำหนดแนวนโยบายของพรรคการเมืองไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 -- ความสัมพันธ์ระหว่างบริบททางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ความเป็นสถาบันของพรรคการเมือง และแนวนโยบายของพรรคการเมืองไทย -- การพัฒนากระบวนการกำหนดแนวนโยบายของพรรคการเมืองบทสรุป ข้อเสนอแนะ และข้อพิจารณาการศึกษาในอนาคต
520__‡aพรรคการเมืองถือเป็นองค์กรที่มีบทบาทสำคัญในระบอบการเมืองแบบประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นตัวแทนประชาชนในการกำหนดแนวนโยบายสาธารณะในการพัฒนาประเทศและสังคมและเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในกระบวนการเมืองการปกครองและการบริหารกิจการสาธารณะ ดังนั้น กระบวนการกำหนดแนวนโยบายสาธารณะของพรรคการเมืองจึงมีความสำคัญต่อกระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยและการพัฒนาประเทศในฐานะที่เป็นสะพานเชื่อมความต้องการของประชาชนกับกระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ หนังสือเล่มนี้จึงมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพัฒนาการของการจัดทำและการนำเสนอนโยบายของพรรคการเมืองไทยในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การจัดทำและนำเสนอนโยบายของพรรคการเมืองไทยในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แลบะ 3) เพื่อนำเสนอตัวแบบการพัฒนาเครื่องมือทางนโยบายของพรรคการเมืองในการเลือกตั้งสมาชิกผู้แทนราษฎร คำถามของหนังสือเล่มนี้ได้แก่ 1) กระบวนการจัดทำและพัฒนาชุดนโยบายของพรรคการเมืองและยุทธศาสตร์ของพรรคการเมืองมีลักษณะอย่างไร? 2) ปัจจัยอะไรที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการจัดทำชุดนโยบายและยุทธศาสตร์ของพรรคการเมือง? 3) กระบวนการจัดทำและพัฒนาชุดนโยบายและยุทธศาสตร์ของพรรคการเมืองมีความสัมพันธ์กับองค์กรภายนอ ก ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (Expert or Technocrat) หน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษา องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนอย่างไร? 4) กระบวนการในการนำเสนอและผลักดันชุดนโยบายและยุทธศาสตร์ของพรรคการเมืองมีลักษณะอย่างไร? โดยมีข้อโต้แย้งว่ากระบวนการกำหนดนโยบายของพรรคการเมืองไทยขึ้นอยู่กับปัจจัยภายนอกซึ่งประกอบด้วยโครงสร้างและกระบวนการทางการเมือง รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง ความนิยมทางการเมืองของผู้มีสิทธิออกดเสียงเลือกตั้ง นโยบายของพรรคการเมืองคู่แข่งทางการเมือง ปัจจัยภายในพรรคการเมืองซึ่งประกอบด้วยอุดมการณ์ของพรรคการเมือง ผู้นำพรรคการเมือง โครงสร้างพรรคการเมืองและความสัมพันธ์ภายในพรรคการเมืองงานชิ้นนี้มีขอบเขตการศึกษาอยู่ที่กระบวนการกำหนดแนวนโยบายของพรรคการเมืองไทยตั้งแต่ปี 2540 และตัวละครที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการกำหนดแนวนโยบายของพรรคการเมือง โดยดูที่แนวนโยบายที่ใช้ในการหาเสียงเลือกตั้งทั่วไปปี 2544 2548 2550 2554 และ 2562 จากการสำรวจทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับพรรคการเมือง องค์กรพรรคการเมืองและงานวิจัยเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวกับพรรคการเมืองกับการกำหนดนโยบายสาธารณะ ผู้เขียนกำหนดตัวแบบ CESE (Centralization, Everyday Lift, State Policy, and Electorally Successful Political Party) เพื่อวิเคราะห์ลักษณะการกำหนดแนวนโยบายสาธารณะของพรรคการเมืองไทย กระบวนการศึกษาในหนังสือเล่มนี้เป็นการผสมผสานการวิเคราะห์ข้อมูลตัวเลขจากตัวแบบสถิติกับการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาทั้งจากเอกสารและจากการพูดคุยและการสนทนากลุ่มกับนักวิชาการและผู้ให้ข้อมูลจากพรรคการเมือง ผลการวิเคราะห์ชี้ให้เห็นว่าพรรคการเมืองไทยมีความพยายามที่จะกำหนดแนวนโยบายที่เป็นตัวแทนเชิงนโยบายกับฐานเสียงของพรรค อย่างไรก็ดีหากเปรียบเทียบกับพรรคการเมืองในต่างประเทศ ระดับความเป็นตัวแทนเชิงนโยบายของพรรคการเมืองไทยยังอยู่ในระดับที่ต่ำมาก ทั้งนี้จากการวิเคราะห์พบว่าลักษณะการกำหนดแนวนโยบายสาธารณะของพรรคการเมืองมีลักษณะบนลงล่าง ล้อไปกับแนวนโยบายพื้นฐานของรัฐ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และโครงการของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งสอดคล้องกับตัวแบบ CESE ดังนั้น ข้อเสนอแนะของหนังสือชิ้นนี้มีทั้งการปรับปรุงและพัฒนาเชิงโครงสร้างและกระบวนการในระดับมหภาค ตั้งแต่ การแก้ไขรัฐธรรมนูญและระบบการเลือกตั้ง การเลือกตั้งขั้นต้นและเลือกตั้งกลางเทอม การกระจายอำนาจการบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อเปิดโอกาสพรรคการเมืองได้เริ่มกระบวนการกำหนดนโยบายในระดับพื้นที่ได้มากขึ้น การจัดสรรงบประมาณจากกองทุนเพื่อพัฒนาพรรคการเมืองในแง่มุมของการพัฒนากระบวนการกำหนดนโยบายของพรรคการเมือง ถึงระดับองค์กรพรรคการเมือง ได้แก่ การจัดตั้งสถาบันวิเคราะห์และศึกษาเชิงนโยบายของพรรคการเมืองเพื่อเปิดโอกาสให้พรรคการเมืองมีองค์กรในการกำหนดนโยบายด้วยการศึกษาวิจัยและเปิดโอกาสให้สถาบันศึกษาของพรรคการเมืองมีโอกาสร่วมมือกับสถาบันการศึกษาและสามารถขอทุนทำศึกษาเชิงนโยบายจากหน่วยงานภาครัฐที่ทำหน้าที่จัดสรรทุน ในส่วนของเครื่องมือการพัฒนากระบวนการกำหนดนโยบายของพรรคการเมือง หนังสือเล่มนี้เสนอให้มีการปรับปรุงกองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง ในส่วนของกระบวนการรัฐสภา ควรจะมีการส่งเสริมให้พรรคฝ่ายค้านได้เสนอแนวนโยบาย หลังจากที่นายกรัฐมนตรีและพรรคร่วมรัฐบาลได้นำเสนอแนวนโยบายของตน เพื่อกระตุ้นให้พรรคการเมืองได้จัดทำแนวนโยบายในหลายๆโอกาสไม่ใช่เฉพาะช่วงหาเสียงเลือกตั้งในส่วนขององค์กรพรรคการเมือง พรรคการเมืองควรยกระดับคณะกรรมการนโยบายเป็นสภานโยบายพรรที่เปิดโอกาสให้หลายภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดแนวนโยบายของพรรคการเมืองและการจัดตั้งสถาบันศึกษานโยบาย
650_7‡aพรรคการเมือง‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
200737324.2593 ธ15หวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
200738324.2593 ธ15ห ฉ.2วิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด