เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1148672    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการเงินพรรคการเมืองไทย : ข้อมูลการสำรวจและข้อเสนอแนะ / อรรถสิทธิ์ พานแก้ว และณัชชาภัทร อมรกุล
Dewey Call #324.21 อ17ก
ผู้แต่งอรรถสิทธิ์ พานแก้ว
ผู้แต่งเพิ่มเติมณัชชาภัทร อมรกุล
หัวเรื่องพรรคการเมือง--วิจัย
 การเงิน--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ--วิจัย
 ทุนในการหาเสียง--วิจัย
ISBN9786164761971
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2564
ชื่อเรื่องการเงินพรรคการเมืองไทย : ข้อมูลการสำรวจและข้อเสนอแนะ / อรรถสิทธิ์ พานแก้ว และณัชชาภัทร อมรกุล
Dewey Call #324.21 อ17ก
ผู้แต่งอรรถสิทธิ์ พานแก้ว
ผู้แต่งเพิ่มเติมณัชชาภัทร อมรกุล
ISBN9786164761971
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2564
เนื้อหาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง : พรรคการเมืองกับบทบาทตัวเชื่อมทางการเมือง -- การเงินการเมือง (Political finance) และการเงินพรรคการเมือง (party finance) การปฏิรูปการเงินพรรคการเมือง -- พัฒนาการการเงินพรรคการเมืองในประเทศไทย -- คู่มือการกำกับดูแลพรรคการเมืองของต่างประเทศ : คู่มือการเงินพรรคการเมืองประเทศแคนาดา -- คู่มือการเงินพรรคการเมืองประเทศกรีซ -- คู่มือการเงินพรรคการเมืองขององค์การระหว่างประเทศ -- การเงินพรรคการเมืองในประเทศไทย ตามรัฐธรรมนูญ 2560 -- การเปรียบเทียบการจัดการทางการเงินของต่างประเทศ -- ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : มิติที่ 1 การกำหนดเพดานบริจาคและลักษณะต้องห้าม (donation bans and limits) -- มิติที่ 2 การกำหนดเพดานการใช้จ่ายและลักษณะต้องห้าม (spending bans and limits) -- มิติที่ 3 การสนับสนุนภาครัฐ (Public subsidy) -- มิติที่ 4 รายงานทางการเงิน (financial reporting) -- การสนับสุนความเข้มแข็งของการเงินพรรคการเมือง : การสนับสนุนความเข้มแข็งของการเงินพรรคการเมืองผ่านพรรคการเมือง -- การสนับสนุนความเข้มแข็งของการเงินพรรคการเมืองผ่านประชาชน -- บทสรุปและข้อเสนอแนะ : การเปรียบเทียบการจัดการทางการเงินของต่างประเทศ -- ความท้าทายของระบบการเงินพรรคการเมืองในประเทศไทย -- การสร้างความเข้มแข็งให้กับการเงินพรรคการเมือง
หัวเรื่องพรรคการเมือง--วิจัย
 การเงิน--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ--วิจัย
 ทุนในการหาเสียง--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ212 หน้า : ภาพประกอบ
LDR 03542nam a2200229 4500
005 20220530154338.0
008 220526s2564 th a ||| | tha d
020__‡a9786164761971‡c215
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a324.21‡bอ17ก
1000_‡aอรรถสิทธิ์ พานแก้ว
24510‡aการเงินพรรคการเมืองไทย :‡bข้อมูลการสำรวจและข้อเสนอแนะ /‡cอรรถสิทธิ์ พานแก้ว และณัชชาภัทร อมรกุล
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bสถาบันพระปกเกล้า,‡c2564
300__‡a212 หน้า : ‡bภาพประกอบ
5052_‡aแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง : พรรคการเมืองกับบทบาทตัวเชื่อมทางการเมือง -- การเงินการเมือง (Political finance) และการเงินพรรคการเมือง (party finance) การปฏิรูปการเงินพรรคการเมือง -- พัฒนาการการเงินพรรคการเมืองในประเทศไทย -- คู่มือการกำกับดูแลพรรคการเมืองของต่างประเทศ : คู่มือการเงินพรรคการเมืองประเทศแคนาดา -- คู่มือการเงินพรรคการเมืองประเทศกรีซ -- คู่มือการเงินพรรคการเมืองขององค์การระหว่างประเทศ -- การเงินพรรคการเมืองในประเทศไทย ตามรัฐธรรมนูญ 2560 -- การเปรียบเทียบการจัดการทางการเงินของต่างประเทศ -- ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : มิติที่ 1 การกำหนดเพดานบริจาคและลักษณะต้องห้าม (donation bans and limits) -- มิติที่ 2 การกำหนดเพดานการใช้จ่ายและลักษณะต้องห้าม (spending bans and limits) -- มิติที่ 3 การสนับสนุนภาครัฐ (Public subsidy) -- มิติที่ 4 รายงานทางการเงิน (financial reporting) -- การสนับสุนความเข้มแข็งของการเงินพรรคการเมือง : การสนับสนุนความเข้มแข็งของการเงินพรรคการเมืองผ่านพรรคการเมือง -- การสนับสนุนความเข้มแข็งของการเงินพรรคการเมืองผ่านประชาชน -- บทสรุปและข้อเสนอแนะ : การเปรียบเทียบการจัดการทางการเงินของต่างประเทศ -- ความท้าทายของระบบการเงินพรรคการเมืองในประเทศไทย -- การสร้างความเข้มแข็งให้กับการเงินพรรคการเมือง
520__‡aหนังสือเล่มนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดและรูปแบบในการจัดการการเงินพรรคการเมืองในต่างประเทศ และประเทศไทย และวิเคราะห์โครงสร้างและความท้าทายของการจัดการการเงินพรรคการเมืองในประเทศไทยในปัจจุบันและเสนอแนะแนวทางสร้างความเข้มแข็งของระบบการเงินพรรคการเมือง ผลการศึกษาพบว่า คู่มือการเงินของพรรคการเมืองของแคนาดาเน้นที่ผู้ใช้หลักคือพรรคการเมือง ทำให้พรรคการเมืองสามารถปฏิบัติตามกฎหมายได้ถูกต้อง ในกรณีของกรีซนั้นเน้นที่ประชาชนให้เข้าใจเกี่ยวกับการเงินพรรคการเมือง และในองค์การว่าด้วยความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป และสำนักงานเพื่อสถาบันประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนนั้น เน้นที่ภาคประชาสังคมที่ต้องการตรวจสอบการเงินพรรคการเมือง สำหรับคู่มือการเงินพรรคการเมืองในประเทศไทยนั้น มีการให้รายละเอียดในส่วนของ "การกำหนดเพดานการบริจาคและลักษณะต้องห้าม" มากที่สุด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะป้องกันไม่ให้มีผู้สนับสนุนรายใหญ่อันจะนำไปสู่การครอบงำทางการเมือง โครงสร้างทางการเงินพรรคการเมืองเหล่านั้นให้ความสำคัญกับการใช้การเงินพรรคการเมืองเพื่อสร้างประชาธิปไตยที่เน้นการแข่งขัน เสรีภาพ ความโปร่งใสและความรับผิดชอบ ในส่วนของความท้าทายของการเงินพรรคการเมืองไทยนั้น พบว่า แทนที่จะเน้นเรื่องกฎระเบียบที่สลับซับซ้อนควรเน้นที่สร้างความโปร่งใสทางการเงิน ควรให้โอกาสพรรคการเมืองตั้งใหม่หรือพรรคขนาดเล็ก และเอื้อให้พรรคการเมืองสามารถระดมทุนจากผู้สนับสนุนรายย่อย ควรมีขยายมิติการสนับสนุนจากภาครัฐในเรื่องการพัฒนาความเป็นองค์กรพรรคการเมืองในด้านต่างๆ ในการส่งเสริมความเข้มแข็งทางการเงินให้กับพรรคการเมืองนั้น สามารถทำโดยการส่งเสริมให้พรรคการเมืองสามารถทำความเข้าใจกับกฎหมายและระเบียบการเงินพรรคการเมืองที่มีอยู่ให้ครบถ้วน และควรส่งเสริมให้ประชาชนมีความตระหนักและมีความเข้าใจว่าการบริจาคเงิรให้กับพรรคการเมืองจะช่วยสร้างความเข้มแข็งและความเป็นอิสระให้กับพรรคการเมือง ซึ่งเป็นรากฐานที่สำคัญต่อการสร้างประชาธิปไตยที่มั่นคง
650_7‡aพรรคการเมือง‡xวิจัย
650_7‡aการเงิน‡xกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ‡xวิจัย
650_7‡aทุนในการหาเสียง‡xวิจัย
7000_‡aณัชชาภัทร อมรกุล
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
200739324.21 อ17กวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
200740324.21 อ17ก ฉ.2วิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด