เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1148821    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากเครื่องแต่งกายโนรา / จรรย์สมร ผลบุญ, กำธร เกิดทิพย์
ชื่อเรื่องProduct desjgn and development inspired from Nora costume
Dewey Call #745.5 จ17ก
ผู้แต่งจรรย์สมร ผลบุญ
ผู้แต่งเพิ่มเติมกำธร เกิดทิพย์
หัวเรื่องการออกแบบผลิตภัณฑ์--วิจัย
 โนรา--วิจัย
พิมพลักษณ์สงขลา : สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2565
เชื่อมโยงhttps://arit.skru.ac.th/ebook/pages/admin/title_detail.php?title_code=1765
ชื่อเรื่องการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากเครื่องแต่งกายโนรา / จรรย์สมร ผลบุญ, กำธร เกิดทิพย์
ชื่อเรื่องProduct desjgn and development inspired from Nora costume
Dewey Call #745.5 จ17ก
ผู้แต่งจรรย์สมร ผลบุญ
ผู้แต่งเพิ่มเติมกำธร เกิดทิพย์
พิมพลักษณ์สงขลา : สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2565
หัวเรื่องการออกแบบผลิตภัณฑ์--วิจัย
 โนรา--วิจัย
เชื่อมโยงhttps://arit.skru.ac.th/ebook/pages/admin/title_detail.php?title_code=1765
ลักษณะทางกายภาพ[ก-จ], 62 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 02042nam a2200217 4500
005 20250312184757.0
008 220803s2565 th tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a745.5‡bจ17ก
1000_‡aจรรย์สมร ผลบุญ
24510‡aการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากเครื่องแต่งกายโนรา /‡cจรรย์สมร ผลบุญ, กำธร เกิดทิพย์
24631‡aProduct desjgn and development inspired from Nora costume
260__‡aสงขลา :‡bสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,‡c2565
300__‡a[ก-จ], 62 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
520__‡aการวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนาโดยใช้วิธีการแบบผสม (mixed method) ระหว่างวิธีการเชิงคุณภาพและวิธีการเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์ เพื่อออกแบบและสร้างสรรค์ลวดลายจากชุดลูกปัดโนรา ผลวิจัยพบว่า ผู้วิจัยได้นำการวิเคราะห์ลวดลายจากชุดปัดโนรา โดยนำลักษณะเด่น คือ มีลักษณะเป็นจุดเรียงลงมาเป็นเส้นตรง ลวดลายจะเป็นรูปทรงเลขาคณิต สีของชุดโนราจะมีการใช้ที่หลากหลาย อาทิ สีน้ำเงิน สีส้ม สีเหลือง สีเขียว สีแดง เป็นต้น ผู้วิจัยได้ออกแบบลวดลายจากชุดลูกปัดโนราเป็นจำนวน จำนวน 6 ลาย แต่เลือกใช้เพียงลวดลาย 3 ลาย โดยยึดผลการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิ ต่อมาผู้วิจัยนำลวดลายที่ได้มาออกแบบผลิตภัณฑ์ โดยจัดทำเป็น 3 ประเภทคือ1)แบบเครื่องนุ่งห่ม ได้แก่ เสื้อบุรุษ เสื้อสตรี 2)ผ้าเอนกประสงค์ได้แก่ ผ้าม่าน เฟอร์นิเจอร์3)งานแฮนด์เมค ได้แก่เคสโทรศัพท์มือถือ กระเป๋าสตรี กระเป๋าใส่เอกสาร กระเป๋าใส่เหรียญ ซึ่งผู้วิจัยได้ออกแบบโดยใช้ภาพจำลอง (Simulation) และนำภาพร่างของผลิตภัณฑ์ที่ได้ออกแบบแบบส่งให้ประชาชนทั่วไปซึ่งเป็นกลุ่มนักศึกษา และวัยทำงานทั้งผู้ชายและผู้หญิงจำนวน 100 คนประเมินความพึงพอใจ โดยผลการประเมินภาพรวมปรากฎอยู่ในเกณฑ์พึงพอใจมาก ทั้งนี้ผลประเมินรายย่อยด้านผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในเกณฑ์พึงพอใจมากที่สุดคือ กระเป๋าถือสตรี เคสโทรศัพท์มือถือ และเสื้อสตรี ผู้วิจัยได้คัดเลือกกระเป๋าถือสตรีมาเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบสำหรับให้เจ้าของทุนวิจัยนำเป็นต้นแบบในการพัฒนาต่อยอดส่งเสริมอาชีพให้แก่คนในชุมชน
650_7‡aการออกแบบผลิตภัณฑ์‡xวิจัย
650_7‡aโนรา‡xวิจัย
7000_‡aกำธร เกิดทิพย์
850__‡aSKRU
8564_‡uhttps://arit.skru.ac.th/ebook/pages/admin/title_detail.php?title_code=1765
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
200841745.5 จ17กวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด