เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1148998    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น : การจัดเส้นทางวัดเพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน / วรรณวดี ชัยชาญกุล
Dewey Call #338.4791 ว17ม
ผู้แต่งวรรณวดี ชัยชาญกุล
หัวเรื่องการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม--วิจัย
 วัดกับการท่องเที่ยว--วิจัย
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2559
ชื่อเรื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น : การจัดเส้นทางวัดเพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน / วรรณวดี ชัยชาญกุล
Dewey Call #338.4791 ว17ม
ผู้แต่งวรรณวดี ชัยชาญกุล
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2559
หัวเรื่องการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม--วิจัย
 วัดกับการท่องเที่ยว--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ129 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 02649nam a2200181 4500
005 20230601111943.0
008 220930s2559 th tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a338.4791‡bว17ม
1000_‡aวรรณวดี ชัยชาญกุล
24510‡aมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น :‡bการจัดเส้นทางวัดเพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน /‡cวรรณวดี ชัยชาญกุล
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา,‡c2559
300__‡a129 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
520__‡aการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่วัดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม และเพื่อให้เป็นโครงการตัวอย่างต่อเนื่องของโครงการจัดเส้นทางวัดต่อไป การดำเนินการวิจัยมี 4 ขั้นตอนดังนี้ 1) ขั้นการศึกษาบริบทของวัดในพื้นที่ฝั่งธนบุรีเพื่อจัดรูปแบบเส้นทางวัด 2) ขั้นการดำเนินการจัดระบบเส้นทางวัดใน้ขตพื้นที่ฝั่งธนบุรี 3) ขั้นการประเมินการมีส่วนร่วมของชุมชนและประชากรท้องถิ่น 4) ขั้นการเผยแพร่การวิจัยต่อชุมชน ผู้วิจัยได้สรุปผลการวิจัยตามขั้นตอนการวิจัยดังนี้ 1)ผลการศึกษาบริบทวัดในพื้นที่ฝั่งธนบุรี ประกอบด้วย 15 เขต มีวัด จำนวน 218 วัด วัดแต่ละแห่งมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม พร้อมด้วยคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ศิลป วัฒนธรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ ควรค่าแก่การอนุรักษ์และพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวแบบยั่งยืน 2) ผลการศึกษาและคัดเลือกวัดในเขตฝั่งธนบุรี จำนวน 218 วัดให้เหลือ 9 วัด เป็นไปตามข้อกำหนดตามหลักเกณฑ์ คือ วัดทั้ง 9 วัดดังกล่าวอยู่ในรัศมีของมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ไม่เกิน 3 กิโลเมตร เป็นวัดที่สามารถเดินทางได้สะดวก ทั้งทางรถ ทางเดินเท้า และทางเรือ เป็นวัดที่ตั้งอยู่ริมคลองสายประวัติศาสตร์ คือ คลองบางหลวง(คลองบางกอกใหญ่) เป็นวัดหลวง มีความเก่าแก่ และมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และเป็นวัดที่มีชื่อเสียงต่อเนื่องจากอดีตสู่ปัจจุบัน 3) ผลการประเมินการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนท้องถิ่น จากการพบ สัมภาษณ์เจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาส ไวยาวัจกร พระภิกษุสงฆ์ สามเณร และประชาชน ชาวบ้าน พบว่าการจัดเส้นทางท่องเที่ยวในครั้งนี้ก่อให้เกิดความร่วมมือทั้ง 3 ปัจจัยองค์กร เป็นวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงจิตใจระหว่างผู้วิจัยกับชุมชน ชาวบ้าน พระภิกษุสงฆ์ ก่อให้เกิดเอกภาพ และอัตลักษณ์ของประเทศ ในการดำเนินการวิจัยชุดโครงการท่องเที่ยวอย่างชัดเจน 4) ผลการเผยแพร่การวิจัยต่อชุมชน ทำให้เกิดการจัดการท่องเที่ยวเส้นทางไหว้พระ 9 วัด และมีพันธมิตรในการจัดกิจกรรมท่องเที่ยว ได้แก่ นักศึกษา อาจารย์ ประชาชนผู้สนใจ ชุมชนบริเวณวัด คณะกรรมการวัด ร้านอาหารในเขตเส้นทางวัด ผลการประเมินความคิดเห็นจากการจัดกิจกรรมท่องเที่ยววัดดังกล่าวอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้ผู้วิจัยจัดพิมพ์เอกสารประชาสัมพันธ์และประกาศทางเว็บไซต์มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ซึ่งเป็นการเปิดช่องทางในการดำเนินการจัดเส้นทางท่องเที่ยววัดสืบเนื่องต่อไปในอนาคต
650_7‡aการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม‡xวิจัย
650_7‡aวัดกับการท่องเที่ยว‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
201181338.4791 ว17มวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด