เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1149055    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องโครงการการพัฒนาระบบบริหารจัดเก็บรายได้ท้องถิ่น (ระยะที่ 2) : รายงานการวิจัย / วีระศักดิ์ เครือเทพ และคณะ
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย โครงการการพัฒนาระบบบริหารจัดเก็บรายได้ท้องถิ่น (ระยะที่ 2)
 Enhancing capabilities of local revenue administration in Thailand (phase ll study)
Dewey Call #352.14 ค87
ผู้แต่งเพิ่มเติมวีระศักดิ์ เครือเทพ
 รายได้
หัวเรื่องการคลังท้องถิ่น
 การปกครองท้องถิ่น
 การจัดการรายได้
 การจัดเก็บภาษี
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565
ชื่อเรื่องโครงการการพัฒนาระบบบริหารจัดเก็บรายได้ท้องถิ่น (ระยะที่ 2) : รายงานการวิจัย / วีระศักดิ์ เครือเทพ และคณะ
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย โครงการการพัฒนาระบบบริหารจัดเก็บรายได้ท้องถิ่น (ระยะที่ 2)
 Enhancing capabilities of local revenue administration in Thailand (phase ll study)
Dewey Call #352.14 ค87
ผู้แต่งเพิ่มเติมวีระศักดิ์ เครือเทพ
 รายได้
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565
เนื้อหาภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง -- ภาษีป้าย -- ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์ -- ค่าธรรมเนียมโรงแรม -- ค่าบริการบำบัดน้ำเสีย -- ค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอยและมูลฝอยติดเชื้อ -- การพัฒนาฐานข้อมูลขนาดใหญ่เพื่อการจัดเก็บภาษีท้องถิ่นและการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา -- ภาษีจากการใช้ทรัพยากรน้ำ -- การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
หัวเรื่องการคลังท้องถิ่น
 การปกครองท้องถิ่น
 การจัดการรายได้
 การจัดเก็บภาษี
ลักษณะทางกายภาพ1 เล่ม (เลขหน้าไม่เรียงลำดับ) : ภาพประกอบ +ซีดี-รอม
LDR 03862nam a2200253 4500
005 20230525143053.0
008 221021s2565 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a352.14‡bค87
24500‡aโครงการการพัฒนาระบบบริหารจัดเก็บรายได้ท้องถิ่น (ระยะที่ 2) :‡bรายงานการวิจัย /‡cวีระศักดิ์ เครือเทพ และคณะ
24630‡aรายงานการวิจัย โครงการการพัฒนาระบบบริหารจัดเก็บรายได้ท้องถิ่น (ระยะที่ 2)
24631‡aEnhancing capabilities of local revenue administration in Thailand (phase ll study)
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,‡c2565
300__‡a1 เล่ม (เลขหน้าไม่เรียงลำดับ) : ‡bภาพประกอบ +‡eซีดี-รอม
5052_‡aภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง -- ภาษีป้าย -- ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์ -- ค่าธรรมเนียมโรงแรม -- ค่าบริการบำบัดน้ำเสีย -- ค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอยและมูลฝอยติดเชื้อ -- การพัฒนาฐานข้อมูลขนาดใหญ่เพื่อการจัดเก็บภาษีท้องถิ่นและการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา -- ภาษีจากการใช้ทรัพยากรน้ำ -- การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
520__‡aการพัฒนารายได้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เพื่อให้ อปท. มีความเป็นอิสระทางการคลังและมีศักยภาพเพิ่มขึ้นในการจัดบริการสาธารณะ เป็นสิ่งที่จำเป็นและสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน และมิอาจรอคอยการเปลี่ยนแปลงในเชิงนโยบายจากรัฐหรือหรือการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเพื่อให้ท้องถิ่นมีรายได้เพิ่มขึ้นได้ในขณะนี้ การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนามาตรการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บรายได้ของ อปท. ที่สามารถดำเนินการได้จริงในเวลาอันสั้น และนำไปทดลองเชิงปฏิบัติการว่าก่อให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้นเป็นรูปธรรมหรือไม่ เพียงใด ขอบเขตการศึกษาครั้งนี้ครอบคลุมกลุ่มตัวอย่าง อปท. จำนวน 17 แห่งในพื้นที่ 7 จังหวัด และครอบคลุมประเภทรายได้ที่สำคัญของ อปท. 8 ประเภท ได้แก่ ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภาษีป้าย ค่าธรรมเนียมโรงแรม ภาษีรถยนต์ ค่าบริการบำบัดน้ำเสีย ค่าธรรมเนียมขยะ การพัฒนารายได้จากการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน และการเพิ่มฐานภาษีจากการใช้ทรัพยากรน้ำ กรอบการศึกษาวิจัยครอบคลุมมาตรการพัฒนารายได้ในเชิงระบบ (System approach) มาตรการเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral approach) และการขับเคลื่อนนโยบาย ซึ่งคณะผู้วิจัยสังเคราะห์เป็นกรอบคิดหลัก "P-S-I Framework" สำหรับการพัฒนารายได้ท้องถิ่น จากนั้น จึงนำไปเป็นแนวทางรวบรวมข้อมูลเพื่อการทดสอบเชิงประจักษ์ ผลการวิจัยในหลายบริบทของ อปท. ทำให้สรุปได้อย่างมั่นใจว่า P-S-I Framework เป็นกรอบคิดวิเคราะห์ที่ประยุกต์ใช้ได้เป็นการทั่วไปสำหรับการพัฒนารายได้ท้องถิ่น ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ผลการทดลองกับภาษีท้องถิ่นทั้ง 8 ประเภทสะท้อนถึงความสำเร็จในการพัฒนารายได้ท้องถิ่นได้ในทันที ซึ่งทำให้เพิ่มรายได้แก่ อปท. ระหว่าง 35.998 ถึง 36.404 ล้านบาท และในอนาคต หากมีการนำไปขยายผลกับ อปท. แห่งต่างๆ คาดว่าจะสามารถสร้างศักยภาพในการเเพิ่มรายได้สำหรับ อปท. ดังนี้ (1) รายได้ที่เพิ่มขึ้นจากฐานภาษีเดิม ระหว่าง 5,675.61 - 10,785.86 ล้านบาท (2) รายได้ที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นจากฐานภาษีเดิมบวกฐานรายได้ประเภทใหม่ ระหว่าง 17,863.77 - 26,689.92 ล้านบาท (3)การสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจระหว่าง 2.72 - 3.57 ล้านล้านบาทหรือประมาณร้อยละ 16.0 -21.0 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ทั้งหมดนี้จะช่วยให้สัดส่วนที่จัดเก็บเองเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 10 ของรายได้รวมโดยประมาณ เป็นร้อยละ 13.3 ถึง 15.0 ของรายได้รวมของ อปท. นอกจากนี้ (4) การพัฒนาประสิทธิภาพในการจัดเก็บรายได้ท้องถิ่นยังสร้างความโปร่งใสด้านข้อมูลภาษีอากร การสื่อสารกับภาคประชาชน และอำนวยความสะดวกในด้านภาษีอากรให้แก่ผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น การวิจัยนี้สะท้อนว่าการพัฒนารายได้ท้องถิ่นจากมาตรการพึ่งพาตนเองของ อปท. เป็นแนวทางที่มีความสำคัญ สามารถดำเนินการได้จริง และควรเป็นทางเลือกลำดับแรกในการพัฒนารายได้สำหรับ อปท. แต่อย่างไรก็ดี ในระยะยาว รัฐจะต้องหนุนเสริมการบังคับใช้กฎหมายเพื่อการจัดเก็บภาษีของท้องถิ่นอย่างเข้มงวด พัฒนาระบบงานและความร่วมมือเพื่อสนับสนุนการจัดเก็บภาษีของท้องถิ่น และขยายฐานรายได้ประเภทใหม่ฟ ใหเแก่ อปท. เพิ่มขึ้น มาตรการทั้งหมดนี้ก็จะมีส่วนเพิ่มผลสำเร็จของการบริหารจัดเก็บรายได้ท้องถิ่นได้อย่างยั่งยืนต่อไป
650_7‡aการคลังท้องถิ่น
650_7‡aการปกครองท้องถิ่น
650_7‡aการจัดการรายได้
650_7‡aการจัดเก็บภาษี
7000_‡aวีระศักดิ์ เครือเทพ
7000_‡aรายได้
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
201200352.14 ค87วิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
CR201200352.14 ค87ซีดีประกอบหนังสือสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด