เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1149075    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการพัฒนาผู้ประกอบการด้านอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ : รายงานการวิจัย / สุชาดา ธโนภานุวัฒน์...[และคนอื่นๆ]
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัยการพัฒนาผู้ประกอบการด้านอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ
 The Development of entrepreneurial skills in healthy foods for the elderly
Dewey Call #641.5627 ก27
ผู้แต่งเพิ่มเติมสุชาดา ธโนภานุวัฒน์
 พรศิริ กองนวล
 ณัฐกาญ ธีรบวรกุล
 ปรัชญา เหลือเจริญ
หัวเรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ--วิจัย
 ผู้สูงอายุ--แง่โภชนาการ--วิจัย
 ผู้ประกอบการ--วิจัย
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2565
ชื่อเรื่องการพัฒนาผู้ประกอบการด้านอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ : รายงานการวิจัย / สุชาดา ธโนภานุวัฒน์...[และคนอื่นๆ]
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัยการพัฒนาผู้ประกอบการด้านอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ
 The Development of entrepreneurial skills in healthy foods for the elderly
Dewey Call #641.5627 ก27
ผู้แต่งเพิ่มเติมสุชาดา ธโนภานุวัฒน์
 พรศิริ กองนวล
 ณัฐกาญ ธีรบวรกุล
 ปรัชญา เหลือเจริญ
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2565
เนื้อหาสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย -- พฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้สูงอายุ -- อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพผู้สูงอายุ -- อาหารสำหรับผู้สูงอายุของประเทศญี่ปุ่น -- การวิเคราะห์ข้อมูลผู้สูงอายุ และร้านอาหารในชุมชน -- การวิเคราะห์ความต้องการของผู้ประกอบการในการพัฒนาอาหารสุขภาพ -- การวิเคราะห์พฤติกรรมและความต้องการของผู้สูงอายุในการบริโภคอาหารสุขภาพ -- การพัฒนาผู้ประกอบการด้านอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ
หัวเรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ--วิจัย
 ผู้สูงอายุ--แง่โภชนาการ--วิจัย
 ผู้ประกอบการ--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ92 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 03609nam a2200265 4500
005 20221104154520.0
008 221102s2565 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a641.5627‡bก27
24500‡aการพัฒนาผู้ประกอบการด้านอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ :‡bรายงานการวิจัย /‡cสุชาดา ธโนภานุวัฒน์...[และคนอื่นๆ]
24630‡aรายงานการวิจัยการพัฒนาผู้ประกอบการด้านอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ
24631‡aThe Development of entrepreneurial skills in healthy foods for the elderly
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี,‡c2565
300__‡a92 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
5052_‡aสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย -- พฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้สูงอายุ -- อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพผู้สูงอายุ -- อาหารสำหรับผู้สูงอายุของประเทศญี่ปุ่น -- การวิเคราะห์ข้อมูลผู้สูงอายุ และร้านอาหารในชุมชน -- การวิเคราะห์ความต้องการของผู้ประกอบการในการพัฒนาอาหารสุขภาพ -- การวิเคราะห์พฤติกรรมและความต้องการของผู้สูงอายุในการบริโภคอาหารสุขภาพ -- การพัฒนาผู้ประกอบการด้านอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ
520__‡aการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผู้ประกอบการด้านอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุในชุมชน 4 เขตอนุรักษ์เมืองเก่าฝั่งธนบุรี เป็นการวิจัยและพัฒนา เด็บรวบรวมข้อมูลความต้องการของผู้ประกอบการในการพัฒนาอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ พฤติกรรมและความต้องการบริโภคอาหารสุขภาพของผู้สูงอายุ พัฒนาผู้ประกอบการด้านอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุโดยการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาผู้ประกอบการด้านอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ให้ความรู้เรื่องบรรจุภัณฑ์และออกแบบตราสัญลักษณ์อาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุหลังจากนั้นให้ผู้เข้าอบรมทดลองประกอบอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุจำหน่ายในชุมชน และประเมินผลการพัฒนาผู้ประกอบการด้านอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสำรวจ แบบสอบถาม และแบบประเมิน การเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย ข้อมูลปฐมภูมิ และข้อมูลทุติยภูมิ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้ประกอบการด้านอาหารส่วนใหญ่ไม่มีเมนูอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 84.40 และไม่ต้องการพัฒนาอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 83.49 เนื่องจากเมนูอาหารทั่วไปจำหน่ายได้เป็นประจำ ประกอบกับสถานกาณ์แพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 จึงไม่สะดวกเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาผู้ประกอบการด้านอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ 2) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีความต้องการให้ส่งเสริมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพโดยจัดให้มีแหล่งจำหน่ายอาหารเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุที่สามารถเข้าถึงได้ง่ายคิดเป็นร้อยละ 71.60 เหตุผลที่เลือกรับประทานอาหารสุขภาพที่จำหน่ายในชุมชน คือ ราคาไม่แพง คิดเป็นร้อยละ 68.20 รองลงมาคือ มีอาหารให้เลือกหลากหลาย คิดเป็นร้อยละ 58.10 3) ผู้ประกอบการมีความรู้ความเข้าใจต่อการอบรมเชิงปฏิบัติการประกอบอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุในระดับมากที่สุด โดยมีคว่ามรู้ความเข้าใจการจัดเมนูอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ การประกอบอาหารสำหรับผู้สูงอายุ และการเลือกวัตถุดิบสำหรับผู้สูงอายุตามลำดับ และ 4) ผลการดำเนินกิจการหลังจากการเข้ารับการพัฒนาผู้ประกอบการด้านอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ พบว่า ผู้ประกอบการนำเทคนิคการประกอบอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุมาพัฒนาต่อยอดได้ และได้ตราสัญลักษณ์อาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ และสามารถนำเสนอเมนูอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุที่พัฒนาแล้วสู่ตลาด คิดเป็นร้อยละ 100 นอกจากนี้ จากการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาผู้ประกอบการด้านอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ยังได้สื่อวิดีทัศน์การประกอบอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ จำนวน 9 ตอน นำไปเผยแพร่ให้แก่ผู้ที่เข้าอบรมได้ทบทวนและผู้ที่สนใจได้ศึกษาเรียนรู้เทคนิคการประกอบอาหารสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุต่อไป
650_7‡aอาหารเพื่อสุขภาพ‡xวิจัย
650_7‡aผู้สูงอายุ‡xแง่โภชนาการ‡xวิจัย
650_7‡aผู้ประกอบการ‡xวิจัย
7000_‡aสุชาดา ธโนภานุวัฒน์
7000_‡aพรศิริ กองนวล
7000_‡aณัฐกาญ ธีรบวรกุล
7000_‡aปรัชญา เหลือเจริญ
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
201229641.5627 ก27วิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด