ออกจากระบบ
เข้าสู่ระบบ
หรือ
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ชื่อผู้ใช้:
รหัสผ่าน:
ลืมรหัสผ่าน ?
ก
ก
ก
iOPAC
ค้นหา
ข่าวสาร
ข้อมูลสมาชิก
ยืมต่อ
ค่าปรับ
สถิติ
รายงาน
ช่วยเหลือ
คู่มือ
ปิด
ข้อมูลบรรณานุกรม
#1149086
แบบย่อ
|
แบบเต็ม
|
MARC
ตัวอย่าง
เพิ่มแท็ก
เพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แนะนำ
สั่งซื้อ
บันทึก
ส่งออก
Citation
ความนิยม
ประเภทวัสดุ
หนังสือ
ชื่อเรื่อง
การจัดการภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ต่อธุรกิจโรงแรมเจ้าของคนเดียว ในกรุงเทพมหานคร : รายงงานการวิจัย / กานต์รวี วิโรจน์วรรณ วรรณปิยะรัตน์
ชื่อเรื่อง
รายงงานการวิจัย การจัดการภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ต่อธุรกิจโรงแรมเจ้าของคนเดียว ในกรุงเทพมหานคร
Dewey Call #
647.94 ก25ก
ผู้แต่ง
กานต์รวี วิโรจน์วรรณ วรรณปิยะรัตน์
หัวเรื่อง
การจัดการโรงแรม--วิจัย
โรงแรม--การจัดการภาวะวิกฤต--วิจัย
โรงแรม--การบริหารงานบุคคล--วิจัย
อุตสาหกรรมโรงแรม--การจัดการภาวะวิกฤต--วิจัย
โควิด-19 (โรค)--การจัดการภาวะวิกฤต--วิจัย
โควิด-19 (โรค)--ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ--วิจัย
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2565
ชื่อเรื่อง
การจัดการภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ต่อธุรกิจโรงแรมเจ้าของคนเดียว ในกรุงเทพมหานคร : รายงงานการวิจัย / กานต์รวี วิโรจน์วรรณ วรรณปิยะรัตน์
ชื่อเรื่อง
รายงงานการวิจัย การจัดการภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ต่อธุรกิจโรงแรมเจ้าของคนเดียว ในกรุงเทพมหานคร
Dewey Call #
647.94 ก25ก
ผู้แต่ง
กานต์รวี วิโรจน์วรรณ วรรณปิยะรัตน์
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2565
เนื้อหา
แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 -- แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการ -- แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะวิกฤติและการจัดการภาวะวิกฤต -- แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับผลกระทบ -- แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม และธุรกิจที่พักแรมเจ้าของคนเดียว -- แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับ Safety & Health Administration (SHA) -- แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) -- ผลการวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นในการจัดการธุรกิจโรงแรม -- ผลการวิเคราะห์ระดับความสำคัญในการจัดการภาวะวิกฤต -- ผลการวิเคราะห์แบบสัมภาษณ์ผู้ประกอบการธุกิจโรงแรม
หัวเรื่อง
การจัดการโรงแรม--วิจัย
โรงแรม--การจัดการภาวะวิกฤต--วิจัย
โรงแรม--การบริหารงานบุคคล--วิจัย
อุตสาหกรรมโรงแรม--การจัดการภาวะวิกฤต--วิจัย
โควิด-19 (โรค)--การจัดการภาวะวิกฤต--วิจัย
โควิด-19 (โรค)--ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ
97 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR
04044nam a2200253 4500
005
20221111141558.0
008
221109s2565 th a ||| | tha d
040
__
‡aSongkhla Rajabhat University
082
04
‡a647.94‡bก25ก
100
0_
‡aกานต์รวี วิโรจน์วรรณ วรรณปิยะรัตน์
245
10
‡aการจัดการภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ต่อธุรกิจโรงแรมเจ้าของคนเดียว ในกรุงเทพมหานคร :‡bรายงงานการวิจัย /‡cกานต์รวี วิโรจน์วรรณ วรรณปิยะรัตน์
246
30
‡aรายงงานการวิจัย การจัดการภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ต่อธุรกิจโรงแรมเจ้าของคนเดียว ในกรุงเทพมหานคร
260
__
‡aกรุงเทพฯ :‡bมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี,‡c2565
300
__
‡a97 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
505
2_
‡aแนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 -- แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการ -- แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะวิกฤติและการจัดการภาวะวิกฤต -- แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับผลกระทบ -- แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม และธุรกิจที่พักแรมเจ้าของคนเดียว -- แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับ Safety & Health Administration (SHA) -- แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) -- ผลการวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นในการจัดการธุรกิจโรงแรม -- ผลการวิเคราะห์ระดับความสำคัญในการจัดการภาวะวิกฤต -- ผลการวิเคราะห์แบบสัมภาษณ์ผู้ประกอบการธุกิจโรงแรม
520
__
‡aการวิจัยนี้เป็นแบบผสม มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิธีการจัดการภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และผลการเยียวยาของภาครัฐต่อธุรกิจโรงแรมเจ้าของคนเดียว ในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมแบบเจ้าของคนเดียว ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 136 คน ใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างไม่คำนึงถึงความน่าจะเป็น โดยการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวกเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า ระดับความคิดเห็นการจัดการธุกิจโรงแรมของผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมแบบเจ้าของคนเดียว ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนการจัดการภาวะวิกฤตของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ต่อธุรกิจโรงแรม พบว่าผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมให้ความสำคัญในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผลการเปรียบเทียบความสำคัญของปัจจัยการจัดการภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของธุรกิจโรงแรม จำแนกตามข้อมูลทั่วไปพบว่า อายุ ประสบการณ์ในการบริหารงาน ระดับการศึกษาระยะเวลาในการดำเนินธุรกิจต่างกัน ให้ความสำคัญต่อการจัดการภาวะวิกฤตของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ธุรกิจโรงแรมในภาพรวมแตกต่างกัน ส่วนที่มีเพศ และทุนจดทะเบียนต่างกัน ให้ความสำคัญต่อการจัดการภาวะวิกฤตของการแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา 2019 ในภาพรวมไม่แตกต่างต่างกันระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรม มีความคิดเห็นตรงกันว่า การวางแผน ต้องมีแผนหารายได้ โดยเป็นโรงพยาบาลสนาม (Hospitel) การปรับลดเปลี่ยนหน้าที่ และตำแหน่งของบุคลากร การจัดองค์การ มีการปรับเปลี่ยนทั้งโครงสร้างภายใน และบุคลากรบางส่วน งานการโน่มน้าวพนักงานมีการสื่อสารสร้างความเข้าใจ และความเชื่อมั่นให้กับพนักงาน ในการทำงานที่จะต้องสัมผัสกับผู้ป่วยและการควบคุม ตัดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการที่ไม่จำเป็น และควบคุมการทำงานพนักงานตามมาตรฐานความสะอาดและปลอดภัยตามหลัก:SHA (Amazing Thailand & Health Administration) ส่วนการจัดการภาวะวิกฤตของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในเรื่องการเตรียมความพร้อมพบว่า การวางแผนรับมือ ทำการประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจ สื่อสารกับพนักงาน และแขกผู้พักตามมาตรฐานSHA การตอบสนอง พบว่า ต้องเรียงลำดับความสำคัญของงาน ควบคุมค่าใช้จ่าย และรายได้ที่เข้ามาให้พอเพียง ส่วนภาพอนาคต พบว่าการฟื้นตัวธุรกิจโรงแรมเป็นไปอย่างช้า เนื่องจากประเทศยังไม่เปิดเต็มที่ สำหรับการช่วยเหลือเยียวยาของภาครัฐที่ผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรม ต้องการมาตรการช่วยเหลือจากภาครัฐคือ การสนับสนุนค่าจ้างพนักงานเดิม การให้พักชำระเงินต้น หรือดอกเบี้ย มาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยว สนับสนุนการจัดประชุมสำหรับองค์กร การสนับสนุนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขรวมถึงความเชื่อมั่นจากการเปิดประเทศทั้งระบบ
650
_7
‡aการจัดการโรงแรม‡xวิจัย
650
_7
‡aโรงแรม‡xการจัดการภาวะวิกฤต‡xวิจัย
650
_7
‡aโรงแรม‡xการบริหารงานบุคคล‡xวิจัย
650
_7
‡aอุตสาหกรรมโรงแรม‡xการจัดการภาวะวิกฤต‡xวิจัย
650
_7
‡aโควิด-19 (โรค)‡xการจัดการภาวะวิกฤต‡xวิจัย
650
_7
‡aโควิด-19 (โรค)‡xผลกระทบต่อเศรษฐกิจ‡xวิจัย
850
__
‡aSKRU
ทรัพยากร
เลือกห้องสมุด :
ทั้งหมด
วิทยาเขตสตูล
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บาร์โค้ด
เลขหมู่/เล่มที่
Collection
ห้องสมุดสาขา
สถานที่จัดเก็บ
สถานะ
201217
647.94 ก25ก
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1
อยู่บนชั้น
จองทรัพยากร
สาขาที่รับ
วันที่คาดว่าจะรับ
ขอใช้หนังสือด่วน
เงื่อนไข
1. ส่งคำขอเวลา 8.30-11.00น รับหนังสือเวลา 16.00น.
2. ส่งคำขอหลังเวลา 11.00น. รับหนังสือในวันทำการถัดไป
3. ส่งคำขอ วันศุกร์ช่วงบ่าย หรือ วันเสาร์-อาทิตย์ รับหนังสือวันจันทร์ 16.00น.
4. ติดต่อรับหนังสือด่วนได้ที่ เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 3 *ภายใน 3 วัน*
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 2352
ความเห็น
|
บทวิเคราะห์
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แบ่งปันให้กับเพื่อนทั้งหมด
เพิ่ม Tag
สร้าง Tag ใหม่
แผนที่ตั้งทรัพยากร
Preview Dialog
Citation
อ้างอิง APA เวอร์ชัน 7
กานต์รวี วิโรจน์วรรณ วรรณปิยะรัตน์. (2565).
การจัดการภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ต่อธุรกิจโรงแรมเจ้าของคนเดียว ในกรุงเทพมหานคร :รายงงานการวิจัย .
กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
อ้างอิง MLA เวอร์ชัน 9
กานต์รวี วิโรจน์วรรณ วรรณปิยะรัตน์.
การจัดการภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ต่อธุรกิจโรงแรมเจ้าของคนเดียว ในกรุงเทพมหานคร :รายงงานการวิจัย .
กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2565.
อ้างอิง Chicago เวอร์ชัน 17
กานต์รวี วิโรจน์วรรณ วรรณปิยะรัตน์. 2565.
การจัดการภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ต่อธุรกิจโรงแรมเจ้าของคนเดียว ในกรุงเทพมหานคร :รายงงานการวิจัย .
กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
อ้างอิง Vancouver เวอร์ชัน 2
กานต์รวี วิโรจน์วรรณ วรรณปิยะรัตน์. การจัดการภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ต่อธุรกิจโรงแรมเจ้าของคนเดียว ในกรุงเทพมหานคร :รายงงานการวิจัย . กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี; 2565.
สถิติ
อันดับการยืม / จากทั้งหมด
252/253
อันดับการใช้งานภายใน/จากทั้งหมด
ไม่มีการใช้งาน
คะแนน/ผู้โหวต
0.0/0
ใช้ล่าสุดเมื่อ
09/06/2567
จำนวนการยืม
1
เปิดดู (ครั้ง)
135
เพิ่มไปยังรายการ
0
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด
ผลการทำงาน
Undefined result.