เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1149110    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องแผนงานวิจัยเชิงบูรณาการการพัฒนามรดกทางวัฒนธรรมต้นแบบจากความหลากหลายตามแบบวิถี ศาสนา ความเชื่อในท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร / วีรชัย คำธร
ชื่อเรื่องThe integrated research of the development of the cultural heritage prototype from the diversity of religions and local believes topromote the hospitality and cultural tourism industry in Thonburiarea, Bangkok
Dewey Call #338.4791 ว37ผ
ผู้แต่งวีรชัย คำธร
หัวเรื่องการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม--กรุงเทพฯ--วิจัย
 การท่องเที่ยว--การจัดการ--วิจัย
 การท่องเที่ยว--วิจัย
 กรุงเทพฯ--ความเป็นอยู่และประเพณี--วิจัย
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2563
ชื่อเรื่องแผนงานวิจัยเชิงบูรณาการการพัฒนามรดกทางวัฒนธรรมต้นแบบจากความหลากหลายตามแบบวิถี ศาสนา ความเชื่อในท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร / วีรชัย คำธร
ชื่อเรื่องThe integrated research of the development of the cultural heritage prototype from the diversity of religions and local believes topromote the hospitality and cultural tourism industry in Thonburiarea, Bangkok
Dewey Call #338.4791 ว37ผ
ผู้แต่งวีรชัย คำธร
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2563
เนื้อหาการประมวลเอกสาร -- วีธีดำเนินการวิจัย -- ผลการสังเคราะห์ข้อมูล -- สรุปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
หมายเหตุงานวิจัยนี้ได้รับสนับสนุนทุนจากงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
หัวเรื่องการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม--กรุงเทพฯ--วิจัย
 การท่องเที่ยว--การจัดการ--วิจัย
 การท่องเที่ยว--วิจัย
 กรุงเทพฯ--ความเป็นอยู่และประเพณี--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ[ก-ฌ],107แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 03378nam a2200241 4500
005 20221116110453.0
008 221116s2563 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a338.4791‡bว37ผ
1000_‡aวีรชัย คำธร
24510‡aแผนงานวิจัยเชิงบูรณาการการพัฒนามรดกทางวัฒนธรรมต้นแบบจากความหลากหลายตามแบบวิถี ศาสนา ความเชื่อในท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร /‡cวีรชัย คำธร
24631‡aThe integrated research of the development of the cultural heritage prototype from the diversity of religions and local believes topromote the hospitality and cultural tourism industry in Thonburiarea, Bangkok
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี,‡c2563
300__‡a[ก-ฌ],107แผ่น : ‡bภาพประกอบ
500__‡aงานวิจัยนี้ได้รับสนับสนุนทุนจากงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
5052_‡aการประมวลเอกสาร -- วีธีดำเนินการวิจัย -- ผลการสังเคราะห์ข้อมูล -- สรุปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
520__‡aการศึกษาวิจัยนี้มุ่งศึกษาสังเคราะห์แนวทางพัฒนามรดกทางวัฒนธรรมต้นแบบจากความ หลากหลายตามแบบวิถี ศาสนา ความเชื่อในท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมการบริการและการ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร การวิจัยนี้ใช้วิธีดำเนินการวิจัยทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ หน่วยในการวิเคราะห์ ได้แก่ แผนงานวิจัย จำนวน 10 โครงการ มีประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้นำชุมชน คณะกรรมการชุมชน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวในพื้นที่ กำหนดเกณฑ์ในการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ เป็นบุคคลที่มีบทบาทในชุมชน มีประสบการณ์เกี่ยวกับการจัดการท่องเที่ยว มีจิตอาสาที่จะพัฒนาชุมชนด้านการท่องเที่ยว อีกทั้งศึกษาข้อมูลเชิงประจักษ์ภาคสนาม เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงเอกสาร และแบบสอบถาม เพื่อประเมินแผนงาน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติเพื่อประเมินความคิดเห็นต่อแผน งานวิจัยบูรณาการ ผลการวิจัยพบว่า ภาพรวมของแผนงานวิจัยบูรณาการส่งเสริมอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มีความเหมาะสม ระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 4.35) จำแนกตามแผนงานดังนี้ แผนงานที่ 1 การพัฒนาอัตลักษณ์ชุมชนต้นแบบ (ค่เฉลี่ย = 4.13) แผนงานที่ 2 การพัฒนา ผลิตภัณฑ์ชุมชนต้นแบบ (ค่าเฉลี่ย = 4.38) แผนงานที่ 3 การยกระดับคุณภาพอาหารส่งเสริมการ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (ค่าเฉลี่ย = 4.25) แผนงานที่ 4 การกำหนดกลยุทธ์ต้นแบบสำหรับพัฒนา เส้นทางท่องเที่ยว (ค่าเฉลี่ย = 4.13) แผนงานที่ 5 การพัฒนามูลค่าเพิ่มจากแหล่งศิลปสถาปัตย์ (ค่าเฉลี่ย = 4.25) แผนงานที่ 6 การพัฒนาฐานข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรม (คำเฉลี่ย = 4.25) แผนงาน ที่ 7 การพัฒนาบทเรียนภาษาอังกฤษส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (ค่าเฉลี่ย = 4.25) แผนงาน ที่ 8 การพัฒนาเครื่องดื่มม็อกเทลส่วนผสมสมุนไพร (ค่เฉลี่ย = 4.38) แผนงานที่ 9 การพัฒนา แอพพลิเคนส่งเสริมการท่องเที่ยว (ค่าเฉลี่ย = 4.13) แผ่นงานที่ 10 การพัฒนาสมการพยากรณ์ของ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (ค่าเฉลี่ย = 9.38) ทั้งนี้พบผลดีเชิงประจักษ์ ได้แก่ (1) การ พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนตันแบบ (2) การพัฒนาฐานข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรม เช่น การสร้างศูนย์ ข้อมูลทางวัฒนธรรมเพื่อการเรียนรู้ (3) การพัฒนาบทเรียนภาษาอังกฤษ เช่น การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 4) การพัฒนาแอพพลิเคชั่น เช่น การพัฒนาระบบที่ง่ายสำหรับส่งเสริม การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และ (5) การพัฒนาสมการของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เช่น การสร้าง ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
650_7‡aการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม‡zกรุงเทพฯ‡xวิจัย
650_7‡aการท่องเที่ยว‡xการจัดการ‡xวิจัย
650_7‡aการท่องเที่ยว‡xวิจัย
651_7‡aกรุงเทพฯ‡xความเป็นอยู่และประเพณี‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
201256338.4791 ว37ผวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด