ออกจากระบบ
เข้าสู่ระบบ
หรือ
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ชื่อผู้ใช้:
รหัสผ่าน:
ลืมรหัสผ่าน ?
ก
ก
ก
iOPAC
ค้นหา
ข่าวสาร
ข้อมูลสมาชิก
ยืมต่อ
ค่าปรับ
สถิติ
รายงาน
ช่วยเหลือ
คู่มือ
ปิด
ข้อมูลบรรณานุกรม
#1149126
แบบย่อ
|
แบบเต็ม
|
MARC
ตัวอย่าง
เพิ่มแท็ก
เพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แนะนำ
สั่งซื้อ
บันทึก
ส่งออก
Citation
ความนิยม
ประเภทวัสดุ
หนังสือ
ชื่อเรื่อง
ระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตธนบุรี : รายงานการวิจัย / อุษา จูฑะสุวรรณศิริ, ศศิธร เทียมถนอม
ชื่อเรื่อง
รายงานการวิจัย ระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตธนบุรี
The Quality of life of the elderly in thonburi district
Dewey Call #
305.26 อ48ร
ผู้แต่ง
อุษา จูฑะสุวรรณศิริ
ผู้แต่งเพิ่มเติม
ศศิธร เทียมถนอม
หัวเรื่อง
ผู้สูงอายุ--การดำเนินชีวิต--วิจัย
คุณภาพชีวิต--วิจัย
ผู้สูงอายุ--ไทย--วิจัย
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2564
ชื่อเรื่อง
ระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตธนบุรี : รายงานการวิจัย / อุษา จูฑะสุวรรณศิริ, ศศิธร เทียมถนอม
ชื่อเรื่อง
รายงานการวิจัย ระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตธนบุรี
The Quality of life of the elderly in thonburi district
Dewey Call #
305.26 อ48ร
ผู้แต่ง
อุษา จูฑะสุวรรณศิริ
ผู้แต่งเพิ่มเติม
ศศิธร เทียมถนอม
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2564
หัวเรื่อง
ผู้สูงอายุ--การดำเนินชีวิต--วิจัย
คุณภาพชีวิต--วิจัย
ผู้สูงอายุ--ไทย--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ
69 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR
03560nam a2200229 4500
005
20221117161047.0
008
221117s2564 th a ||| | tha d
040
__
‡aSongkhla Rajabhat University
082
04
‡a305.26‡bอ48ร
100
0_
‡aอุษา จูฑะสุวรรณศิริ
245
10
‡aระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตธนบุรี :‡bรายงานการวิจัย /‡cอุษา จูฑะสุวรรณศิริ, ศศิธร เทียมถนอม
246
30
‡aรายงานการวิจัย ระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตธนบุรี
246
31
‡aThe Quality of life of the elderly in thonburi district
260
__
‡aกรุงเทพฯ :‡bมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี,‡c2564
300
__
‡a69 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
520
__
‡aการวิจัยนี้มุ่งศึกษา 1. เพื่อศึกษาปัจจัยด้านประซากรศาสตร์ ปัจจัยคุณภาพชีวิตด้านความเป็นอยู่,ด้านร่างกาย,ด้านอารมณ์,ด้านสังคมและด้านความสามารถในการใช้จ่ายของผู้สูงอายุในเขตธนบุรี 2. เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตธนบุรีจำแนกตามปัจจัยค้านประชากรศาสตร์กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุในเขตธนบุรี อายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็น แบบสอบถาม ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากรสองชุด และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการวิจัยจากแบบสอบถามพบว่า ผู้ตอบส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 72 มีอายุ 60 65 ปี คิดเป็นร้อยละ 34.50 มีสถานภาพสมรส ร้อยละ 68.25 มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 90.75 และแหล่งที่มาของรายได้มาจากธุรกิจส่วนตัว/ค้าขาย ร้อยละ 39,.50 มีรายใด้ต่อเดือน 5,00 1-10,000 บาท ร้อยละ 34 ระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตธนบุรีโดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับปานกลาง ( X เท่ากับ 3.13 SD เท่ากับ 1.099) เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความเป็นอยู่มาก ( X เท่ากับ 3.75 SD เท่ากับ 0.894) รองลงมาอยู่ในระดับป่านกลาง ได้แก่ ด้านสังคมและสภาพอารมณ์ ( X เท่ากับ 3.12 SD เท่ากับ 1.002) ด้านร่างกาย ( X เท่ากับ 2.95 SD เท่ากับ 1.169) และด้านความสามารถในการใช้จ่าย ( X เท่ากับ 2.70 SD เท่ากับ 1.099) และจากการสัมภาษณ์โดยการแบ่งกลุ่มผู้สัมภาษณ์จำนวน 10 คน ประกอบด้วย คนฐานะดี 2 คน ฐานะปานกลาง 6 คน และผู้มีสวัสดิการแห่งรัฐ 2 คน จากการสอบถามโดยมีคำถามทางด้าน ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ด้านสภาพอารมณ์ ด้านความสามารถในการใช้จ่าย โดยในช่วง 60-70 ปี พบว่า คนที่มีฐานะดี มักมีปัญหาด้านร่างกายต้องไปพบแพทย์เป็นประจำเพราะมีโรคเกี่ยวกับตา คือเป็นต้อ และ เบาหวาน หลงลืม แต่ในด้านสังคมและสภาพแวดล้อมได้รับความเอาใจใส่ดี จากลูกหลาน อารมณ์ดี สามารถซื้อทรัพย์สินโดยง่าย ส่วนคนที่มีฐานะปานกลางไม่ค่อยมีโรคประจำตัว มีความรู้สึกต่อสังคมและสภาพแวดล้อมปานกลาง สามารถซื้อของบางอย่างเองได้ตามลำพัง และผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐด้านร่างกายค่อนข้างดี อารมณ์ดี การตัดสินใจซื้อทำได้น้อย ต้องตื่นเช้าเพื่อหารายได้ ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม มักไม่ค่อยมีเพราะต้องทำงานหาเลี้ยงชีพนอกจากนี้ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า เพศ, สถานภาพ, การศึกษา, แหล่งที่มาของรายได้, รายได้ มีความแตกต่างกัน เพศที่ต่างกันมีความแตกต่างกัน เพศชายจะมีสรีระที่แข็งแรงและสามารถทำงานได้มากกว่าเพศหญิง, การศึกษาที่แตกต่างกันมีความแตกต่างกันคนที่มีการศึกษาสูงจะมีความคิดที่ดีกว่าและสามารถทำและมีโอกาสมากกว่าคนที่มีการศึกษาน้อยกว่า, แหล่งที่มาของรายได้แตกต่างกัน คุณภาพชีวิตแตกต่างกันเพราะแหล่งที่มาเป็นตัวกำหนดความสามารถในการใช้จ่ายเงินที่แตกต่างกันรายได้ที่แตกต่างกันคุณภาพชีวิตที่แตกต่างกันเพราะการมีรายได้มากทำให้การใช้ชีวิตสะดวกสบายมากขึ้นทำให้สามารถทำในสิ่งที่อยากทำและมีอิสระทางความคิดโดยการใช้จ่ายเงินอย่างเสรีเพิ่มขึ้นความสุขและคุณภาพชีวิตก็ดีขึ้นเช่นกันส่วนอายุที่แตกต่างกันไม่ได้ทำให้คุณภาพชีวิตแตกต่างกันเพราะผู้สูงอายุที่ตอบจำนวนมากที่สุดมีอายุที่ใกล้เคียงกันทำให้คุณภาพชีวิตไม่แตกต่างกัน
650
_7
‡aผู้สูงอายุ‡xการดำเนินชีวิต‡xวิจัย
650
_7
‡aคุณภาพชีวิต‡xวิจัย
650
_7
‡aผู้สูงอายุ‡xไทย‡xวิจัย
700
0_
‡aศศิธร เทียมถนอม
850
__
‡aSKRU
ทรัพยากร
เลือกห้องสมุด :
ทั้งหมด
วิทยาเขตสตูล
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บาร์โค้ด
เลขหมู่/เล่มที่
Collection
ห้องสมุดสาขา
สถานที่จัดเก็บ
สถานะ
201227
305.26 อ48ร
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1
อยู่บนชั้น
จองทรัพยากร
สาขาที่รับ
วันที่คาดว่าจะรับ
ขอใช้หนังสือด่วน
เงื่อนไข
1. ส่งคำขอเวลา 8.30-11.00น รับหนังสือเวลา 16.00น.
2. ส่งคำขอหลังเวลา 11.00น. รับหนังสือในวันทำการถัดไป
3. ส่งคำขอ วันศุกร์ช่วงบ่าย หรือ วันเสาร์-อาทิตย์ รับหนังสือวันจันทร์ 16.00น.
4. ติดต่อรับหนังสือด่วนได้ที่ เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 3 *ภายใน 3 วัน*
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 2352
ความเห็น
|
บทวิเคราะห์
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แบ่งปันให้กับเพื่อนทั้งหมด
เพิ่ม Tag
สร้าง Tag ใหม่
แผนที่ตั้งทรัพยากร
Preview Dialog
Citation
อ้างอิง APA เวอร์ชัน 7
อุษา จูฑะสุวรรณศิริ, และ ศศิธร เทียมถนอม. (2564).
ระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตธนบุรี :รายงานการวิจัย .
กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
อ้างอิง MLA เวอร์ชัน 9
อุษา จูฑะสุวรรณศิริ, และ ศศิธร เทียมถนอม.
ระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตธนบุรี :รายงานการวิจัย .
กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2564.
อ้างอิง Chicago เวอร์ชัน 17
อุษา จูฑะสุวรรณศิริ, และ ศศิธร เทียมถนอม. 2564.
ระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตธนบุรี :รายงานการวิจัย .
กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
อ้างอิง Vancouver เวอร์ชัน 2
อุษา จูฑะสุวรรณศิริ, และ ศศิธร เทียมถนอม. ระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตธนบุรี :รายงานการวิจัย . กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี; 2564.
สถิติ
อันดับการยืม / จากทั้งหมด
ไม่มีการยืม
อันดับการใช้งานภายใน/จากทั้งหมด
ไม่มีการใช้งาน
คะแนน/ผู้โหวต
0.0/0
ใช้ล่าสุดเมื่อ
-
จำนวนการยืม
0
เปิดดู (ครั้ง)
113
เพิ่มไปยังรายการ
0
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด
ผลการทำงาน
Undefined result.