เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1149127    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการประกอบสร้างภาพลักษณ์ "ชุมชนภาคใต้" จากวรรณกรรมประวัติศาสตร์ภาคใต้ ชุดประวัติพัทลุง - ตรัง (ตอนต้น) : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ / พัชลินจ์ จีนนุ่น
ชื่อเรื่องConstructing images of 'Southern region community' from the Southern historical literary work series of Phatthalung-Trang (early period)
 รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประกอบสร้างภาพลักษณ์ "ชุมชนภาคใต้" จากวรรณกรรมประวัติศาสตร์ภาคใต้ ชุดประวัติพัทลุง - ตรัง (ตอนต้น)
Dewey Call #895.9109 พ112ก
ผู้แต่งพัชลินจ์ จีนนุ่น
หัวเรื่องวรรณกรรมไทย(ภาคใต้)--ประวัติและวิจารณ์--วิจัย
 วรรณกรรมพื้นบ้าน(ภาคใต้)--วิจัย
 พัทลุง--ประวัติศาสตร์--วิจัย
 ตรัง--ประวัติศาสตร์--วิจัย
พิมพลักษณ์สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2565
ชื่อเรื่องการประกอบสร้างภาพลักษณ์ "ชุมชนภาคใต้" จากวรรณกรรมประวัติศาสตร์ภาคใต้ ชุดประวัติพัทลุง - ตรัง (ตอนต้น) : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ / พัชลินจ์ จีนนุ่น
ชื่อเรื่องConstructing images of 'Southern region community' from the Southern historical literary work series of Phatthalung-Trang (early period)
 รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประกอบสร้างภาพลักษณ์ "ชุมชนภาคใต้" จากวรรณกรรมประวัติศาสตร์ภาคใต้ ชุดประวัติพัทลุง - ตรัง (ตอนต้น)
Dewey Call #895.9109 พ112ก
ผู้แต่งพัชลินจ์ จีนนุ่น
พิมพลักษณ์สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2565
เนื้อหาภาพลักษณ์ "ชุมชนภาคใต้" จากวรรณกรรมประวัติภาคใต้ ชุด ประวัติพัทลุง-ตรัง (ตอนต้น) -- กลวิธีใช้ในการประกอบสร้างภาพลักษณ์ "ชุมชนภาคใต้" จากวรรณกรรมประวัติภาคใต้ ชุด ประวัติพัทลุง-ตรัง (ตอนต้น) -- สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
หมายเหตุวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนการวิจัย จากงบประมาณเงินรายได้ คณะมนุษยศาตร์และสังคมศาตร์
หัวเรื่องวรรณกรรมไทย(ภาคใต้)--ประวัติและวิจารณ์--วิจัย
 วรรณกรรมพื้นบ้าน(ภาคใต้)--วิจัย
 พัทลุง--ประวัติศาสตร์--วิจัย
 ตรัง--ประวัติศาสตร์--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ282 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 04899nam a2200253 4500
005 20221117160122.0
008 221117s2565 th tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a895.9109‡bพ112ก
1000_‡aพัชลินจ์ จีนนุ่น
24510‡aการประกอบสร้างภาพลักษณ์ "ชุมชนภาคใต้" จากวรรณกรรมประวัติศาสตร์ภาคใต้ ชุดประวัติพัทลุง - ตรัง (ตอนต้น) :‡bรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ /‡cพัชลินจ์ จีนนุ่น
24631‡aConstructing images of 'Southern region community' from the Southern historical literary work series of Phatthalung-Trang (early period)
24630‡aรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประกอบสร้างภาพลักษณ์ "ชุมชนภาคใต้" จากวรรณกรรมประวัติศาสตร์ภาคใต้ ชุดประวัติพัทลุง - ตรัง (ตอนต้น)
260__‡aสงขลา :‡bคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ,‡c2565
300__‡a282 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
500__‡aวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนการวิจัย จากงบประมาณเงินรายได้ คณะมนุษยศาตร์และสังคมศาตร์
5050_‡aภาพลักษณ์ "ชุมชนภาคใต้" จากวรรณกรรมประวัติภาคใต้ ชุด ประวัติพัทลุง-ตรัง (ตอนต้น) -- กลวิธีใช้ในการประกอบสร้างภาพลักษณ์ "ชุมชนภาคใต้" จากวรรณกรรมประวัติภาคใต้ ชุด ประวัติพัทลุง-ตรัง (ตอนต้น) -- สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
5200_‡aการวิจัยเรื่อง "การประกอบสร้างภาพลักษณ์ "ชุมชนภาคใต้" จากวรรณกรรม ประวัติศาสตร์ภาคใต้ ชุด ประวัติพัทลุง-ตรัง (ตอนตัน)" เป็นการวิจัยเอกสาร รวบรวมจาก วรรณกรรมประวัติศาสตร์ภาคใต้ ชุด ประวัติพัทลุง-ตรัง (ตอนตัน) ผลงานการประพันธ์ของชาญ ไชยจันทร์และพาสน์ พลชัย แต่งด้วยกลอนสุภาพ ช่วง พ.ศ. 2496-2497 นำเสนอข้อมูลโดยวิธี พรรณนาวิเคราะห์ การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาพลักษณ์ "ชุมชนภาคใต้" จากวรรณกรรม ประวัติศาสตร์ภาคใต้ ชุด ประวัติพัทลุง-ตรัง (ตอนตัน) และ 2) ศึกษากลวิธีที่ใช้ในการประกอบ สร้างภาพลักษณ์ "ชุมชนภาคใต้" จากวรรณกรรมประวัติศาสตร์ภาคใต้ ชุด ประวัติพัทลุง-ตรัง ผลการวิจัยพบว่า ภาพลักษณ์ "ชุมชนภาคใต้" ที่ปรากฎจากวรรณกรรมมุ่งเนันไปที่ พื้นที่ตรัง พัทลุงและนครศรีธรรมราช โดยพบจำนวน 6 ภาพลักษณ์ ซึ่งล้วนเป็นภาพลักษณ์ที่ดี ดังนี้ ภาพลักษณ์แรก คือ ภาพลักษณ์ด้านผู้นำ ได้แก่ การมีความสามารถในการปกป้อง บ้านเมือง ความสามารถในการบริหารงาน ความสามารถในการบริหารเพื่อนร่วมงาน ความสามารถในการแก้ปัญหาชุมชน มีใจเที่ยงธรรม ไม่เอนเอียงไปในทางมิชอบ สามารถกุม หัวใจของคนในชุมชน มีหัวคิดก้าวหน้า ทันสมัย สามารถหลอมรวมคนในสังคมพหุวัฒนธรรม ภาพลักษณ์ที่สอง คือ ภาพลักษณ์ด้านภูมิประเทศ ได้แก่ การมีทรัพยากรน้ำที่อุดมสมบูรณ์ และ การมีพื้นที่ที่สามารถปลูกพืชผลต่าง ๆ ได้ ภาพลักษณ์ที่สาม คือ ภาพลักษณ์ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ การมีภาคการเกษตรที่สามารถหล่อเลี้ยงคนได้เป็นอย่างดี การมีพืชพรรณธัญญาหารที่ อุดมสมบูรณ์ และการมีพืชสัตว์เศรษฐกิจเป็นที่ต้องการของต่างเมือง ภาพลักษณ์ที่สี่ คือ ภาพลักษณ์ด้านสังคมวัฒนธรรม ได้แก่ ความสามารถในการอยู่ร่วมกันของคนในกลุ่มพหุ วัฒนธรรม การรับรู้บทบาทหน้าที่ของคนในชุมชน ความสามารถร่วมมือร่วมใจกันแก้ปัญหาของชุมชน ความสามารถปรับใช้ภูมิปัญญาของชุมชนเพื่อประโยชน์ของชุมชน ความไว้วางใจกัน ระหว่างคนในชุมชน การมีวิธีคิดที่จะพึ่งตนเอง ความมีศีลธรรมของคนในชุมชน และการรู้จัก ช่วยเหลือแบ่งปันกัน ภาพลักษณ์ที่ห้า คือ ภาพลักษณ์ด้านสภาพแวดล้อม ได้แก่ การมีพระสงฆ์ ซึ่งชำนาญในหลักธรรม เป็นที่พึ่งแก่คนในชุมชน การมีสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่ร่มรื่นและ สวยงาม การมีระบบการคมนาคมและการบริหารจัดการที่ดี การมีสิ่งก่อสร้างที่ดึงดูดความสนใจ ของผู้คน และการมีสิ่งก่อสร้างและบุคคลในพระพุทธศาสนาไว้ยึดเหนี่ยวจิตใจ และภาพลักษณ์ที่ หก คือ ภาพลักษณ์ด้านการเมืองการปกครอง ได้แก่ การมีความสัมพันธ์อันดีกับรัฐเมืองหลวง การมีอำนาจในการผลักดันรัฐ และการเป็นที่พึ่งของรัฐ ผู้แต่งใช้กลวิธีในการประกอบสร้างภาพลักษณ์ "ชุมชนภาคใต้" 11 กลวิธี ได้แก่ ประการ แรก คือ การใช้คำแง่บวกเพื่อแสดงคุณลักษณะพิเศษของคนและบริบทชุมชน ประการที่สอง คือ การใช้ภาษาแบบกันเองเพื่อแสดงความเป็นเครือญาติและความเท่าเทียมกัน ประการที่สาม คือ การใช้คำซ้ำเพื่อนันย้ำลักษณะทางภูมิศาสตร์ ประการที่สื่ คือ การอธิบายศัพท์เพื่อแสดง คุณลักษณะของคนหรือสถานที่ ประการที่ห้า คือ การอ้างอิงบริบทต่าง ๆ เพื่อเนันย้ำเหตุการณ์ สำคัญทางประวัติศาสตร์ ประการที่หก คือ การสร้างคู่ตรงข้ามเพื่อเน้นย้ำคุณงามความดีของ ผู้นำ ประการที่เจ็ด คือ การตอบโต้ทางวาทกรรมเพื่อสร้างภาพลักษณ์ด้านบวกแก่สังคม ภายนอก ประการที่แปด คือ การอธิบายและให้เหตุผลเพื่อช่วยคลี่คลายความเคลือบแดลงสงสัย ประการที่เก้า คือ การหยิบยกความเป็นชาติเพื่อหลอมรวมความเป็นหนึ่งเดียวของคนในสังคม ประการที่สิบ คือ การเล่าผ่านมุมมองของผู้เล่าที่เป็น "คนใน" และ "ตัวแทน" ของรัฐเพื่อ ตอบสนองต่ออุคมการณ์ส่วนตน และประการที่สิบเอ็ด คือ การเล่าผ่านองค์ประกอบทาง วรรณกรรมเพื่อเสริมภาพลักษณ์ชุมชนด้านบวก โดยภาพลักษณ์ "ชุมชนภาคใต้" ที่ปรากฎใน วรรณกรรมยังสอดรับกับแนวคิด "ชุมชนเข้มแข็ง" ที่มีการกล่าวถึงกันมากในระยะหลังอีกด้วย ทั้งนี้ การประกอบสร้างภาพลักษณ์ "ชุมชนภาคใต้" จากวรรณกรรมในมิติต่าง ๆ ที่หลากหลาย อาจมีนัยให้เป็นภาพตัวแทน "ชุมชนภาคใต้ในอุดมคติ" เพื่อการพัฒนาชุมชนปลายทศวรรษ 2490 ซึ่งกำลังเสื่อมถอยหรือเพื่อพัฒนาชุมชนตามแนวคิดการสร้างชาติของรัฐ จึงนำ "อดีต" ที่ รุ่งเรืองมาสร้างจิตสำนึกร่วมกันของคนในชุมชน
650_7‡aวรรณกรรมไทย(ภาคใต้)‡xประวัติและวิจารณ์‡xวิจัย
650_7‡aวรรณกรรมพื้นบ้าน(ภาคใต้)‡xวิจัย
650_7‡aพัทลุง‡xประวัติศาสตร์‡xวิจัย
650_7‡aตรัง‡xประวัติศาสตร์‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
201269895.9109 พ112กวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   กำหนดคืน:03 ส.ค. 2568
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด