ออกจากระบบ
เข้าสู่ระบบ
หรือ
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ชื่อผู้ใช้:
รหัสผ่าน:
ลืมรหัสผ่าน ?
ก
ก
ก
iOPAC
ค้นหา
ข่าวสาร
ข้อมูลสมาชิก
ยืมต่อ
ค่าปรับ
สถิติ
รายงาน
ช่วยเหลือ
คู่มือ
ปิด
ข้อมูลบรรณานุกรม
#1149128
แบบย่อ
|
แบบเต็ม
|
MARC
ตัวอย่าง
เพิ่มแท็ก
เพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แนะนำ
สั่งซื้อ
บันทึก
ส่งออก
Citation
ความนิยม
ประเภทวัสดุ
หนังสือ
ชื่อเรื่อง
การพัฒนาแพลตฟอร์มผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านอารมณ์ และสังคม (Soft Skill) ในสังคมผู้สูงอายุยุคดิจิทัล : รายงานการวิจัย / ปนัดดา ยิ้มสกุล, วิไล ตั้งจิตสมคิด, วาสนา เพิ่มพูล
ชื่อเรื่อง
รายงานการวิจัยการพัฒนาแพลตฟอร์มผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านอารมณ์ และสังคม(Soft Skill) ในสังคมผู้สูงอายุยุคดิจิทัล
Dewey Call #
305.26 ป15ก
ผู้แต่ง
ปนัดดา ยิ้มสกุล
หัวเรื่อง
ผู้สูงอายุ--ไทย--วิจัย
สื่อสังคมออนไลน์--วิจัย
เทคโนโลยีกับผู้สูงอายุ--วิจัย
อินเทอร์เน็ตกับผู้สูงอายุ
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2565
ชื่อเรื่อง
การพัฒนาแพลตฟอร์มผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านอารมณ์ และสังคม (Soft Skill) ในสังคมผู้สูงอายุยุคดิจิทัล : รายงานการวิจัย / ปนัดดา ยิ้มสกุล, วิไล ตั้งจิตสมคิด, วาสนา เพิ่มพูล
ชื่อเรื่อง
รายงานการวิจัยการพัฒนาแพลตฟอร์มผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านอารมณ์ และสังคม(Soft Skill) ในสังคมผู้สูงอายุยุคดิจิทัล
Dewey Call #
305.26 ป15ก
ผู้แต่ง
ปนัดดา ยิ้มสกุล
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2565
หัวเรื่อง
ผู้สูงอายุ--ไทย--วิจัย
สื่อสังคมออนไลน์--วิจัย
เทคโนโลยีกับผู้สูงอายุ--วิจัย
อินเทอร์เน็ตกับผู้สูงอายุ
ลักษณะทางกายภาพ
165 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR
05455nam a2200217 4500
005
20221118132844.0
008
221117s2565 th a ||| | tha d
040
__
‡aSongkhla Rajabhat University
082
04
‡a305.26‡bป15ก
100
0_
‡aปนัดดา ยิ้มสกุล
245
10
‡aการพัฒนาแพลตฟอร์มผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านอารมณ์ และสังคม (Soft Skill) ในสังคมผู้สูงอายุยุคดิจิทัล :‡bรายงานการวิจัย /‡cปนัดดา ยิ้มสกุล, วิไล ตั้งจิตสมคิด, วาสนา เพิ่มพูล
246
30
‡aรายงานการวิจัยการพัฒนาแพลตฟอร์มผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านอารมณ์ และสังคม(Soft Skill) ในสังคมผู้สูงอายุยุคดิจิทัล
260
__
‡aกรุงเทพฯ :‡bมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี,‡c2565
300
__
‡a165 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
520
__
‡aการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับความสามารถในการใช้งานเทคโนโลยีและอินเทอร์เน็ต สถานภาพการเข้าถึง การใช้งานเทคโนโลยีรูปแบบต่างๆของผู้สูงอายุในชุมชนพื้นที่เขตธนบุรี 2) เพื่อสร้างต้นแบบแพลตฟอร์มผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านอารมณ์และสังคม (Soft skill) ในสังคมผู้สูงอายุยุคดิจิทัลด้วยแบบฝึกทักษะชีวิตด้านการเรียนรู้ 4 ด้าน และ 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจที่มีต่อแพลตฟอร์มผู้สูงอายุกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ผู้สูงอายุที่ใช้ศึกษาข้อมูลทั่วไปส่วนบุคคล ความสามารถพื้นฐาน การเข้าใจ เข้าถึง ในการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลรูปแบบต่งๆของผู้สูงอายุในชุมชนพื้นที่เขตธนบุรี จำนวน 430 คนผู้สูงอายุที่ใช้ศึกษาข้อมูลตันแบบแพลตฟอร์ม ผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านอารมณ์ และสังคม (Soft skill) ในสังคมผู้สูงอายุยุคดิจิทัลด้วยแบบฝึกทักษะชีวิตด้านการเรียนรู้ 4 ด้าน และที่ใช้ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มีต่อแพลตฟอร์มจำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบสอบถามศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับผู้สูงอายุในชุมชนพื้นที่เขตธนบุรี แบบทดสอบก่อนและหลังฝึกทักษะของผู้สูงอายุ แบบสัมภาษณ์ผู้สูงอายุเกี่ยวกับแพลตฟอร์มผู้สูงอายุตันแบบ แบบประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุเกี่ยวกับแพลตฟอร์มการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐานทั่วไปส่วนบุคคล ความสามารถ สถานภาพการเข้าถึงและลักษณะในการใช้งานเทคโนโลยีรูปแบบต่างๆในสังคมยุคดิจิทัลของผู้สูงอายุในชุมชนพื้นที่เขตธนบุรี 1) ข้อมูลพื้นฐานทั่วไปส่วนบุคคลของผู้สูงอายุพบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (63.6) มีอายุระหว่าง 60 -69 ระดับการศึกษาส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา (49.6)รายได้ของผู้สูงอายุส่วนใหญ่พอมีเงินใช้จ่าย (37.5) สถานภาพการอยู่อาศัยส่วนใหญ่ผู้สูงอายุอยู่กับเครือญาติ (45.0) และมีผู้ดูแล (52.1) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่ได้ทำงาน (37.5) สถานภาพของผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกในชุมชน (72.1) 2) ข้อมูลเกี่ยวกับความสามารถสถานภาพการเข้าถึงการใช้งานเทคโนโลยีของผู้สูงอายุพบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ใช้ช่องทางการใช้เทคโนโลยีผ่านมือถือ (62.5) ชนิดของการใช้สื่อสังคมยุคดิจิทัลส่วนใหญ่ใช้ผ่านทางไลน์ (Line) (60.71) รองลงมายูทูป (YouTube) (23.21) การใช้คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊กส่วนใหญ่ใช้ไม่เป็น (67.5) ใช้ได้ต้องมีคนคอยช่วยเหลือ (15.85) ส่วนการใช้มือถือ/สมาร์ทโฟนของผู้สูงอายุส่วนใหญ่ใช้ได้ด้วยตนเองแต่ไม่คล่อง (43.6) การใช้แท็บเล็ตส่วนใหญ่ผู้สูงอายุใช้ไม่เป็นเลย (71.😎 ระยะเวลาที่เริ่มใช้อินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่ 1-3 ปี (34.9) พื้นที่อาศัยส่วนใหญ่มีเครื่อข่ายอินเทอร์เน็ต (76.1) อุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต ส่วนใหญ่ใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟน (82.9) ช่วงเวลาการใช้บริการเทคโนโลยีในสังคมยุคดิจิทัลของผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะใช้ช่วงกลางวัน (1 1.00-15.00) (45.0) 3) ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของการใช้งานเทคโนโลยีในสังคมยุคดิจิทัลของผู้สูงอายุพบว่าลักษณะของการใช้งานเทคโนโลยีของผู้สูงอายุโดยภาพรวมยังอยู่ในระดับน้อย ( =2.15) 2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาต้นแบบแพลตฟอร์มผู้สูงอายุส่งเสริมทักษะ ทางด้านอารมณ์ และสังคม (Soft Skll) ในสังคมผู้สูงอายุยุคดิจิทัลโดยผลของข้อมูลได้จากแบบทดสอบก่อนและหลังเรียนรู้ทักษะชีวิตด้านการเรียนรู้ 4 ด้าน ด้านการออกกำลังกาย ด้านการกินอาหารตามหลักโภชนาการ ด้านการนอนหลับอย่างพอเพียง และด้านทางสมองส่งเสริมสุขภาพจิตและอารมณ์พบว่า หลังการฝึกทักษะชีวิตด้านการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยของคะแนนสูงกว่าก่อนฝึกทักษะโดยมีค่าเฉลี่ย 31.77 (X=31.77) แสดงว่าแบบฝึกมีส่วนช่วยพัฒนาทักษะให้กับผู้สูงอายุส่วนข้อมูลได้จากการจัดกิจกรรมเสริมทักษะชีวิตการเรียนรู้ของผู้สูงอายุ 4 ด้านโดยการสัมภาษณ์ ได้แก่ 1) ด้านการออกกำลังกาย พบว่าระยะแรกผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะออกกำลังกายในบ้านและทำเคลื่อนไหวร่างกายด้วยท่าทางต่างๆตามคลิปวีดิโอต้นแบบช่วยให้การออกกำลังกายง่ายขึ้นสุขภาพยังแข็งแรงมากขึ้น มีผลทำให้ไปพบแพทย์น้อยลง คุณภาพชีวิตดีขึ้น 2) ด้านการกินอาหารตามหลักโภชนาการ พบว่า ระยะแรกการกินอาหารบางมื้อมีสารอาหารครบ บางมื้อไม่ครบระยะที่ 2 มีการเลือกทานอาหารเพื่อสุขภาพมากขึ้น ครบสารอาหาร 5 หมู่ การแบ่งช่วงเวลาการกินอาหาร 3 มื้อและเลือกทานอาหารเพื่อสุขภาพมากขึ้น 3) ด้านการนอนอย่างพอเพียง ระยะแรกหลังจากฝึกกิจกรรมเสริมทักษะชีวิตการเรียนรู้มีการเปลี่ยนแปลงหลายๆด้าน เช่น งดเล่นโทรศัพท์น้อยลง ไม่นอนกลางวันไม่ทานอาหารก่อนนอนระยะที่ 2 หลังจากฝึกกิจกรรมเสริมทักษะชีวิตการเรียนรู้ ฝึกนอนตามวีดิโอต้นแบบ โดยนอนตามเวลา เข้านอนเร็วขึ้น ลดความเครียดก่อนนอนได้ดีขึ้นนอนหลับดีขึ้นด้านทางสมองส่งเสริมสุขภาพจิตและอารมณ์ ระยะแรกผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ไม่ค่อยเครียดเนื่องจากมีกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติ มีจิตอาสาให้กับสาธารณะประโยชน์ให้กับชุมชน ส่วนระยะที่ 2 ผู้สูงอายุส่วนใหญ่หลังจากได้ปฏิบัติติตามวีดีโอฝึกทักษะรู้สึกดีมาก สมองปลอดโปร่งดี 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มีต่อแพลตฟอร์มผู้สูงอายุด้านส่งเสริมทักษะทางด้านอารมณ์ และสังคม (Soft Skill) และแบบฝึกทักษะชีวิตด้านการเรียนรู้ต่างๆ 4 ด้านของผู้สูงอายุได้แก่ กรออกกำลังกายการกินการนอนและทางสมองส่งเสริมสุขภาพจิตและอารมณ์โดยภาพรวมพบว่ามีความพอใจอยู่ในระดับมาก (X= 4.46 ,S.D. = .570)
650
_7
‡aผู้สูงอายุ‡zไทย‡xวิจัย
650
_7
‡aสื่อสังคมออนไลน์‡xวิจัย
650
_7
‡aเทคโนโลยีกับผู้สูงอายุ‡xวิจัย
650
_7
‡aอินเทอร์เน็ตกับผู้สูงอายุ
850
__
‡aSKRU
ทรัพยากร
เลือกห้องสมุด :
ทั้งหมด
วิทยาเขตสตูล
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บาร์โค้ด
เลขหมู่/เล่มที่
Collection
ห้องสมุดสาขา
สถานที่จัดเก็บ
สถานะ
201226
305.26 ป15ก
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1
อยู่บนชั้น
จองทรัพยากร
สาขาที่รับ
วันที่คาดว่าจะรับ
ขอใช้หนังสือด่วน
เงื่อนไข
1. ส่งคำขอเวลา 8.30-11.00น รับหนังสือเวลา 16.00น.
2. ส่งคำขอหลังเวลา 11.00น. รับหนังสือในวันทำการถัดไป
3. ส่งคำขอ วันศุกร์ช่วงบ่าย หรือ วันเสาร์-อาทิตย์ รับหนังสือวันจันทร์ 16.00น.
4. ติดต่อรับหนังสือด่วนได้ที่ เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 3 *ภายใน 3 วัน*
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 2352
ความเห็น
|
บทวิเคราะห์
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แบ่งปันให้กับเพื่อนทั้งหมด
เพิ่ม Tag
สร้าง Tag ใหม่
แผนที่ตั้งทรัพยากร
Preview Dialog
Citation
อ้างอิง APA เวอร์ชัน 7
ปนัดดา ยิ้มสกุล. (2565).
การพัฒนาแพลตฟอร์มผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านอารมณ์ และสังคม (Soft Skill) ในสังคมผู้สูงอายุยุคดิจิทัล :รายงานการวิจัย .
กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
อ้างอิง MLA เวอร์ชัน 9
ปนัดดา ยิ้มสกุล.
การพัฒนาแพลตฟอร์มผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านอารมณ์ และสังคม (Soft Skill) ในสังคมผู้สูงอายุยุคดิจิทัล :รายงานการวิจัย .
กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2565.
อ้างอิง Chicago เวอร์ชัน 17
ปนัดดา ยิ้มสกุล. 2565.
การพัฒนาแพลตฟอร์มผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านอารมณ์ และสังคม (Soft Skill) ในสังคมผู้สูงอายุยุคดิจิทัล :รายงานการวิจัย .
กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
อ้างอิง Vancouver เวอร์ชัน 2
ปนัดดา ยิ้มสกุล. การพัฒนาแพลตฟอร์มผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านอารมณ์ และสังคม (Soft Skill) ในสังคมผู้สูงอายุยุคดิจิทัล :รายงานการวิจัย . กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี; 2565.
สถิติ
อันดับการยืม / จากทั้งหมด
246/247
อันดับการใช้งานภายใน/จากทั้งหมด
ไม่มีการใช้งาน
คะแนน/ผู้โหวต
0.0/0
ใช้ล่าสุดเมื่อ
05/03/2566
จำนวนการยืม
1
เปิดดู (ครั้ง)
107
เพิ่มไปยังรายการ
0
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด
ผลการทำงาน
Undefined result.