เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1149129    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการสร้างคุณค่าตราสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นประเภทอาหารแห้ง ในเขตธนบุรีกรุงเทพมหานคร : รายงานวิจัย / กรวิทย์ ต่ายกระทึก, สิทธิชัย ฝรั่งทอง
ชื่อเรื่องรายงานวิจัยการสร้างคุณค่าตราสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นประเภทอาหารแห้ง ในเขตธนบุรีกรุงเทพมหานคร
 The Brand equity for products dry food OTOP in Thonburi District Bangkok province
Dewey Call #658.827 ก17ก
ผู้แต่งกรวิทย์ ต่ายกระทึก
ผู้แต่งเพิ่มเติมสิทธิชัย ฝรั่งทอง
หัวเรื่องชื่อตราผลิตภัณฑ์--การออกแบบ--วิจัย
 อาหารแห้ง--วิจัย
 โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์--วิจัย
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2565
ชื่อเรื่องการสร้างคุณค่าตราสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นประเภทอาหารแห้ง ในเขตธนบุรีกรุงเทพมหานคร : รายงานวิจัย / กรวิทย์ ต่ายกระทึก, สิทธิชัย ฝรั่งทอง
ชื่อเรื่องรายงานวิจัยการสร้างคุณค่าตราสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นประเภทอาหารแห้ง ในเขตธนบุรีกรุงเทพมหานคร
 The Brand equity for products dry food OTOP in Thonburi District Bangkok province
Dewey Call #658.827 ก17ก
ผู้แต่งกรวิทย์ ต่ายกระทึก
ผู้แต่งเพิ่มเติมสิทธิชัย ฝรั่งทอง
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2565
เนื้อหาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างคุณค่าตราสินค้า -- แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการคุณค่าตราสินค้า -- แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการการวัดคุณค่าตราสินค้า -- กระบวนการยอมรับสินค้าของผู้บริโภค -- แนวคิดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ -- ผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นประเภทอาหารแห้ง -- คู่มือแนวทางและหลักเกณฑ์การคัดสรร OTOP
หัวเรื่องชื่อตราผลิตภัณฑ์--การออกแบบ--วิจัย
 อาหารแห้ง--วิจัย
 โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ90 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 04313nam a2200241 4500
005 20221121105303.0
008 221121s2565 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a658.827‡bก17ก
1000_‡aกรวิทย์ ต่ายกระทึก
24510‡aการสร้างคุณค่าตราสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นประเภทอาหารแห้ง ในเขตธนบุรีกรุงเทพมหานคร :‡bรายงานวิจัย /‡cกรวิทย์ ต่ายกระทึก, สิทธิชัย ฝรั่งทอง
24630‡aรายงานวิจัยการสร้างคุณค่าตราสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นประเภทอาหารแห้ง ในเขตธนบุรีกรุงเทพมหานคร
24631‡aThe Brand equity for products dry food OTOP in Thonburi District Bangkok province
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี,‡c2565
300__‡a90 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
5052_‡aแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างคุณค่าตราสินค้า -- แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการคุณค่าตราสินค้า -- แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการการวัดคุณค่าตราสินค้า -- กระบวนการยอมรับสินค้าของผู้บริโภค -- แนวคิดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ -- ผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นประเภทอาหารแห้ง -- คู่มือแนวทางและหลักเกณฑ์การคัดสรร OTOP
520__‡aงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบคุณค่าตราสินค้าผลิตภัณฑ์ซุมชนท้องถิ่นประเภทอาหารแห้ง ในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร และ 2) เพื่อสร้างรูปแบบคุณค่าตราสินค้าของผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นประเภทอาหารแห้งในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ผู้ให้ข้อมูลสำคัญจากสัมภาษณ์ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน จำนวน 7 คน และนักท่องเที่ยวที่เลือกซื้อผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเนื้อหาเท่ากับ 0.91 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content-Analysis)จากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนและแบบสอบถามจากผู้บริโภค พบว่ามีความสอดคล้องกันคือ จะต้องดำเนินการให้ครบองค์ประกอบของการสร้างตราสินค้าประกอบด้วย ชื่อตราสินค้า ตราสินค้า โลโก้ คำขวัญ ป้ายฉลาก และบาร์โค้ดหรือคิวอาร์โค้ดผู้ประกอบการขนมฝรั่งกุฎีจีนอยู่ 3 ร้าน คือ 1) บ้านขนมฝรั่งกุฎีจีนธนูสิงห์ 2) ร้านหลานแม่เป้า และ 3) ร้านคุณเล็ก ลูกแม่ศรีหลานย่าเป้า มีเพียงร้านธนูสิงห์ที่ได้มีการพัฒนาต่อยอด โดยมีองค์ประกอบคุณค่าตราสินค้า ส่วนร้านหลานแม่เป้า และร้านคุณเล็กหลานย่าเป้านั้น มีองค์ประกอบไม่ครบตามหลักของตราสินค้า มีเพียงโลโกัสติ๊กเกอร์ชื่อเจ้าของร้านและที่อยู่ติดอยู่บนชองด้านหน้าของขนมบรรจุภัณฑ์ที่ใช้เป็นบรรจุในถุงพลาสติกใสที่ไม่มีลวดลาย ส่วนผู้ประกอบการขนมบดินเพียง 2 ร้านมารียะ และร้านป้าเล็ก พบว่า ร้านป้าเล็กขนมบดิน มีองค์ประกอบคุณค่าตราค่อนข้างครบ และผู้ประกอบการชาใบหม่อน มีองค์ประกอบของตราสินค้าครบถ้วน แต่ยังขาดความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ซึ่งผลิตภัณฑ์ทั้ง 3 ชนิดนี้ ยัไม่ได้ขอการรับรอเผลิตภัณฑ์จากองค์การอาหารและยา (อย.) หรือตราฮาลาส ส่วนระดับความคิดเห็นขอผู้บริโภคที่มีต่อคุณค่าตราสินค้ผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทอาหารแห้ง พบว่า ทุกด้านมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่เสลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการรู้จักตราสินค้า (X = 4.10) ด้านความผูกพันกับตราสินค้า (X= 4.07)ด้านการรับรู้ในคุณภาพ (X= 4.00) ด้านทรัพย์สินที่เป็นกรรมสิทธิ์อื่นๆ (X= 3.95) และด้านความภักดิ์ในตราสินค้า (X= 3.94) ตามลำดับสำหรับแนวทางการสร้างรูปแบบคุณค่าตราสินค้าของผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นประเภทอาหารแห้งในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยจากการสนทนากลุ่มผู้เชี่ยวชาญทั้งหมดมีความเห็นสอดคล้องตรงกันโดยสรุปพบว่า ร้านธนูสิงห์ มีเอกลักษณ์ที่ชัดเจนและสร้างตราสินค้ามานาน ทำให้คุณค่าตราอยู่ในใจผู้บริโภคเมื่อนึกถึงขนมกุฎีจีนสำหรับจะซื้อฝากเพื่อน/ญาติ ส่วนร้านหลานแม่เป้า และร้านคุณเล็ก ลูกแม่ศรีหลานย่าเป้า ไม่ได้มีการพัฒนาตรายี่ท้อและทึบห่อเท่าที่ควรยังคงทำรูปแบบเดิมๆ ทำให้ขายได้ง่ายก็จริง แต่ขาดความนำสนใจและไม่เป็นที่จดจำของผู้บริโภคขนมบดิน ร้านป้าเล็กตราสินค้าถือว่าได้มีการสร้างคุณค่าตราสินค้าออกแบบได้ดีในระดับหนึ่งแล้วสามารถสื่อถึงความหมายของขนมบดินที่เป็นอาหารของคนมุสลิม ส่วนร้านมารียะเป็นตราสินค้าเหมือนขนมเบเกอรี่ทั่วไป ไม่ได้มีความโดดเด่น ส่วนชาใบหม่อน ตรามุทิตา ในมุมมองของผู้บริโภคถือว่าครบถ้วน แต่ยังขาดความคมชัดโคดเด่นและความเป็นเอกลักษณ์ อีกทั้งการสร้างรูปแบบคุณค่าตราสินค้าของผลิตภัณฑ์ประเภทอาหารแห้งจะต้องประกอบด้วย 5 ประการคือ 1. ด้านการรู้จักและจดจำตราสินค้า 2. ด้านความภักดีต่อตราสินค้า 3. ด้านความผูกพันกับตราสินค้า 4. ด้านการรับรู้คุณภาพของสินค้าจากตราสินค้า และ 5. ด้านสินทรัพย์อื่นๆทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับตราสินค้าสิทธิบัตรเครื่องหมายการค้า เป็นต้น
650_7‡aชื่อตราผลิตภัณฑ์‡xการออกแบบ‡xวิจัย
650_7‡aอาหารแห้ง‡xวิจัย
650_7‡aโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์‡xวิจัย
7000_‡aสิทธิชัย ฝรั่งทอง
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
201224658.827 ก17กวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด