เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1149152    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องผลของการใช้กิจกรรมกลางแจ้งการละเล่นแบบไทยโดยรักษาระยะห่างทางกายภาพที่มีผลต่อทักษะทางสังคมและภาวะโภชนาการเกินในเด็กปฐมวัย : รายงานการวิจัย / ปองรัก รังษีวงศ์
ชื่อเรื่องEffect of using distancing outdoor Thai folk play activities on social skills and over nutrition in early childhood
 รายงานการวิจัย ผลของการใช้กิจกรรมกลางแจ้งการละเล่นแบบไทยโดยรักษาระยะห่างทางกายภาพที่มีผลต่อทักษะทางสังคมและภาวะโภชนาการเกินในเด็กปฐมวัย
Dewey Call #372.21 ป19ผ
ผู้แต่งปองรัก รังษีวงศ์
หัวเรื่องการศึกษาขั้นปฐมวัย--กิจกรรมการเรียนการสอน--วิจัย
 เด็ก--โภชนาการ--วิจัย
 การละเล่น(อนุบาลศึกษา)--วิจัย
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2565
ชื่อเรื่องผลของการใช้กิจกรรมกลางแจ้งการละเล่นแบบไทยโดยรักษาระยะห่างทางกายภาพที่มีผลต่อทักษะทางสังคมและภาวะโภชนาการเกินในเด็กปฐมวัย : รายงานการวิจัย / ปองรัก รังษีวงศ์
ชื่อเรื่องEffect of using distancing outdoor Thai folk play activities on social skills and over nutrition in early childhood
 รายงานการวิจัย ผลของการใช้กิจกรรมกลางแจ้งการละเล่นแบบไทยโดยรักษาระยะห่างทางกายภาพที่มีผลต่อทักษะทางสังคมและภาวะโภชนาการเกินในเด็กปฐมวัย
Dewey Call #372.21 ป19ผ
ผู้แต่งปองรัก รังษีวงศ์
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2565
เนื้อหาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมกลางแจ้งการละเล่นแบบไทย -- แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัย -- แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะโภชนาการเกินในเด็กปฐมวัย
หมายเหตุงานวิจัยนี้ได้การสนับสนุนจาก งบประมาณรายได้ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
หัวเรื่องการศึกษาขั้นปฐมวัย--กิจกรรมการเรียนการสอน--วิจัย
 เด็ก--โภชนาการ--วิจัย
 การละเล่น(อนุบาลศึกษา)--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ96 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 03002nam a2200241 4500
005 20221123110039.0
008 221123s2565 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a372.21‡bป19ผ
1000_‡aปองรัก รังษีวงศ์
24510‡aผลของการใช้กิจกรรมกลางแจ้งการละเล่นแบบไทยโดยรักษาระยะห่างทางกายภาพที่มีผลต่อทักษะทางสังคมและภาวะโภชนาการเกินในเด็กปฐมวัย :‡bรายงานการวิจัย /‡cปองรัก รังษีวงศ์
24631‡aEffect of using distancing outdoor Thai folk play activities on social skills and over nutrition in early childhood
24630‡aรายงานการวิจัย ผลของการใช้กิจกรรมกลางแจ้งการละเล่นแบบไทยโดยรักษาระยะห่างทางกายภาพที่มีผลต่อทักษะทางสังคมและภาวะโภชนาการเกินในเด็กปฐมวัย
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,‡c2565
300__‡a96 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
500__‡aงานวิจัยนี้ได้การสนับสนุนจาก งบประมาณรายได้ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
5050_‡aแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมกลางแจ้งการละเล่นแบบไทย -- แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัย -- แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะโภชนาการเกินในเด็กปฐมวัย
5200_‡aการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบผลของการใช้กิจกรรมกลางแจ้งการละเล่นแบบไทยโดยรักษาระยะห่างทางกายภาพที่มีผลต่อทักษะทางสังคมและภาวะโภชนาการเกินในเค็กปฐมวัย ทั้งหมด 4 ด้าน ได้แก่ ด้านความร่วมมือ, ด้านความรับผิดชอบ, ด้านการเล่นร่วมกับผู้อื่น และต้านการปฏิบัติดามกฎกติกา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ เด็กอนุบาลชั้นปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาล 2 (วัดใน) อ.เมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ รวมทั้งหมด 32 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่ายด้วยวิธีการจับฉลาก โดยกลุ่มทดลองมีจำนวน 16 คน และกลุ่มควบคุมมีจำนวน 16 คนกลุ่มทดลองได้รับการจัดกิจกรรมกลางแจ้งการละเล่นแบบไทย โดยรักษาระยะห่างทางกายภาพที่มีผลต่อทักษะทงสังคมและภาวะโภชนาการเกินในเด็กปฐมวัย ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง 6 สัปดาห์ เครื่องมือในการวิจัยแบบสังเกต ทักษะทางสังคมในเด็กปฐมวัย วิเคราะห์ข้อมูสโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัย พบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมทักษะทางสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย ทั้งหมด 4 ด้าน ได้แก่ ด้านความร่วมมือ, ด้านความรับผิดชอบ, ด้านการเล่นร่วมกับผู้อื่น และด้านการปฏิบัติตามกฎกติกา โดยเรียงลำดับจากด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุดคือด้านการปฏิบัติตามกฎกติกา X = 2.66 , S.D.=- .724 ด้านการเล่นร่วมกับผู้อื่น X = 2.60, S.D.= 612 ด้านความร่วมมือ X = 2.59, S.0.= .612 และด้านความรับผิดชอบ X = 2.47, S.D.= .885 และหลังการทดลองเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกลางแจ้งการละเล่นไทยแบบรักษาระยะห่างทางกายภาพ มีผลภาวะโภชนาการเกินสำหรับเด็กปฐมวัย โดยแบ่งออกเป็นค่าเฉลี่ยส่วนสูงคงเดิม คิดเป็นร้อยละ 68.75 และเฉลี่ยน้ำหนักลดลงหลังการทดลอง คิดเป็นร้อยละ 100 เมื่อเปรียบเทียบน้ำหนักส่วนสูงเพื่อประเมินภาวะโภชนาการของเด็กไทย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และพบว่าหลังการทดลองเด็กปฐมวัยมีภาวะโภชนาการเกินที่ดีขึ้นคำสำคัญ: กิจกรรมกลางแจ้งการละเล่นแบบไทย/ ทักษะทางด้านสังคม/ ภาวะโภชนาการเกิน/เด็กปฐมวัย
650_7‡aการศึกษาขั้นปฐมวัย‡xกิจกรรมการเรียนการสอน‡xวิจัย
650_7‡aเด็ก‡xโภชนาการ‡xวิจัย
650_7‡aการละเล่น(อนุบาลศึกษา)‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
201261372.21 ป19ผวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด