เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1149154    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการพัฒนาสมรรถนะทางวิชาชีพของนักศึกษาประกาศนียบัตรของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพครูของมหาวิทยาลัยราชภัฏ / จริยะ วิโรจน์
Dewey Call #378.199 จ17ก
ผู้แต่งจริยะ วิโรจน์
หัวเรื่องครู--สมรรถนะ--วิจัย
 การศึกษาขั้นอุดมศึกษา--วิจัย
พิมพลักษณ์ 2564
ชื่อเรื่องการพัฒนาสมรรถนะทางวิชาชีพของนักศึกษาประกาศนียบัตรของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพครูของมหาวิทยาลัยราชภัฏ / จริยะ วิโรจน์
Dewey Call #378.199 จ17ก
ผู้แต่งจริยะ วิโรจน์
พิมพลักษณ์ 2564
หมายเหตุวิทยานิพนธ์ (ปร.ด.(การบริหารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์))--มหาวิทยาลัยปทุมธานี,2564
หัวเรื่องครู--สมรรถนะ--วิจัย
 การศึกษาขั้นอุดมศึกษา--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ35 แผ่น
LDR 02065nam a2200193 4500
005 20221123150348.0
008 221123s2564 th tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a378.199‡bจ17ก
1000_‡aจริยะ วิโรจน์
24510‡aการพัฒนาสมรรถนะทางวิชาชีพของนักศึกษาประกาศนียบัตรของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพครูของมหาวิทยาลัยราชภัฏ /‡cจริยะ วิโรจน์
260__‡c2564
300__‡a35 แผ่น
502__‡aวิทยานิพนธ์ (ปร.ด.(การบริหารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์))--มหาวิทยาลัยปทุมธานี,2564
520__‡aการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสมรรถนะทางวิชาชีพของนักศึกษา (2) ศึกษาปัจจัยที่ทำให้นักศึกษามีสมรรถนะทางวิชาชีพแตกต่างกัน และ (3) ศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับสมรรถนะทางวิชาชีพของนักศึกษา วิธีดำเนินการวิจัยใช้แบบผสมผสาน ประชากรในการวิจัยเป็นนักศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู 5,370 คน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับเดียวกัน 601 คน ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ 5 แห่ง ที่ได้มาโดยใช้วิธีสุ่มหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลประกอบค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ ระดับนัยสำคัญในการทดสอบประกอบด้วยที-เทสต์ ความแปรปรวน และความแปรปรวนพหุคูณ ที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า1. สมรรถนะทางวิชาชีพของนักศึกษา ในภาพรวมทุกด้านอยู่ในระดับสูง ส่วนรายด้านก็อยู่ในระดับสูงทุกด้าน ซึ่งเรียงลำดับจากด้านที่ค่าเฉลี่ยสูงไปสู่ต่ำ คือ ด้านการปฏิบัติหน้าที่ครู ด้านการจัดการเรียนรู้ และด้านความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและชุมชน 2. ปัจจัยที่ทำให้นักศึกษามีสมรรถนะทางวิชาชีพแตกต่างกับ ปัจจัยลักษณะทางประชากรที่ทำให้แตกต่าง คือ ภูมิลำเนา ส่วนปัจจัยลักษณะเฉพาะเกี่ยวกับวิชาชีพครูที่ทำให้แตกต่าง คือ สายการศึกษาที่สำเร็จปริญญา ระดับ/ประเภทการศึกษาที่ปฏิบัติการสอน ประสบการณ์ในวิชาชีพครู และภาค/พื้นที่ที่ประกอบวิชาชีพครู3. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับสมรรถนะทางวิชาชีพของนักศึกษา ปัจจัยลักษณะทางประชากรทุกปัจจัยไม่สัมพันธ์กับสมรรถนะทางวิชาชีพของนักศึกษา ส่วนปัจจัยลักษณะเฉพาะเกี่ยวกับวิชาชีพครูที่สัมพันธ์ คือ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ในวิชาชีพครู และภาคพื้นที่ที่ประกอบวิชาชีพครู
650_7‡aครู‡xสมรรถนะ‡xวิจัย
650_7‡aการศึกษาขั้นอุดมศึกษา‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
201278378.199 จ17กวิทยานิพนธ์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด