เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1149163    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการเดินทางเมื่อวันเพ็ญเดือนสาม : ศิลปะแห่งการร่วมสร้างสรรค์และปฏิสัมพันธ์เชิงพื้นที่ ณ ชุมชนเครื่องปั้นดินเผาบ้านทุ่งหลวง ตำบลทุ่งหลวง อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย : รายงานการวิจัย / สมหมาย มาอ่อน, สุธิดา มาอ่อน
ชื่อเรื่องThe pilgrimage on the third Lunar month :the collaboration art and relational realm of terracotta community of Bann Tunghlong, Tunnghlong Sub-district, Keremas District, Sukhothai Province
 รายงานการวิจัย การเดินทางเมื่อวันเพ็ญเดือนสาม :ศิลปะแห่งการร่วมสร้างสรรค์และปฏิสัมพันธ์เชิงพื้นที่ ณ ชุมชนเครื่องปั้นดินเผาบ้านทุ่งหลวง ตำบลทุ่งหลวง อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย
Dewey Call #708.9593 ส16ก
ผู้แต่งสมหมาย มาอ่อน
ผู้แต่งเพิ่มเติมสุธิดา มาอ่อน
หัวเรื่องความเชื่อ--วิจัย
 เครื่องปั้นดินเผา--สุโขทัย--นิทรรศการ--วิจัย
 ศิลปกรรม--ไทย--นิทรรศการ--วิจัย
พิมพลักษณ์พิษณุโลก : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ศิลปะ และการออกแบบ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2565
ชื่อเรื่องการเดินทางเมื่อวันเพ็ญเดือนสาม : ศิลปะแห่งการร่วมสร้างสรรค์และปฏิสัมพันธ์เชิงพื้นที่ ณ ชุมชนเครื่องปั้นดินเผาบ้านทุ่งหลวง ตำบลทุ่งหลวง อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย : รายงานการวิจัย / สมหมาย มาอ่อน, สุธิดา มาอ่อน
ชื่อเรื่องThe pilgrimage on the third Lunar month :the collaboration art and relational realm of terracotta community of Bann Tunghlong, Tunnghlong Sub-district, Keremas District, Sukhothai Province
 รายงานการวิจัย การเดินทางเมื่อวันเพ็ญเดือนสาม :ศิลปะแห่งการร่วมสร้างสรรค์และปฏิสัมพันธ์เชิงพื้นที่ ณ ชุมชนเครื่องปั้นดินเผาบ้านทุ่งหลวง ตำบลทุ่งหลวง อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย
Dewey Call #708.9593 ส16ก
ผู้แต่งสมหมาย มาอ่อน
ผู้แต่งเพิ่มเติมสุธิดา มาอ่อน
พิมพลักษณ์พิษณุโลก : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ศิลปะ และการออกแบบ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2565
เนื้อหาแนวคิดการสร้างสรรค์ -- ที่มาและแรงบันดาลใจทางการสร้างสรรค์ -- คติความเชื่อ-วันเพ็ญเดือนสาม และวิถีวัฒนธรรม -- ที่มาของกระบวนการสร้างสรรค์ -- ทฤษฎีศิลปะแห่งการร่วมสร้างสรรค์ -- ทฤษฎีศิลปะเชิงสัมพันธ์ -- ทฤษฎีกฎเกณฑ์แห่งศิลปะ -- ประติมากรรมและการจัดวางเชิงความคิด -- จากทฤษฎีสู่แนวทางการปฏิบัติ -- ผลงานวิจัยสร้างสรรค์และผลงานสร้างสรรค์ที่เกี่ยวข้อง
หัวเรื่องความเชื่อ--วิจัย
 เครื่องปั้นดินเผา--สุโขทัย--นิทรรศการ--วิจัย
 ศิลปกรรม--ไทย--นิทรรศการ--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ229 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 03422nam a2200241 4500
005 20221124133927.0
008 221124s2565 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a708.9593‡bส16ก
1000_‡aสมหมาย มาอ่อน
24510‡aการเดินทางเมื่อวันเพ็ญเดือนสาม :‡bศิลปะแห่งการร่วมสร้างสรรค์และปฏิสัมพันธ์เชิงพื้นที่ ณ ชุมชนเครื่องปั้นดินเผาบ้านทุ่งหลวง ตำบลทุ่งหลวง อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย :‡bรายงานการวิจัย /‡cสมหมาย มาอ่อน, สุธิดา มาอ่อน
24631‡aThe pilgrimage on the third Lunar month :‡bthe collaboration art and relational realm of terracotta community of Bann Tunghlong, Tunnghlong Sub-district, Keremas District, Sukhothai Province
24630‡aรายงานการวิจัย การเดินทางเมื่อวันเพ็ญเดือนสาม :‡bศิลปะแห่งการร่วมสร้างสรรค์และปฏิสัมพันธ์เชิงพื้นที่ ณ ชุมชนเครื่องปั้นดินเผาบ้านทุ่งหลวง ตำบลทุ่งหลวง อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย
260__‡aพิษณุโลก :‡bคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ศิลปะ และการออกแบบ มหาวิทยาลัยนเรศวร,‡c2565
300__‡a229 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
5050_‡aแนวคิดการสร้างสรรค์ -- ที่มาและแรงบันดาลใจทางการสร้างสรรค์ -- คติความเชื่อ-วันเพ็ญเดือนสาม และวิถีวัฒนธรรม -- ที่มาของกระบวนการสร้างสรรค์ -- ทฤษฎีศิลปะแห่งการร่วมสร้างสรรค์ -- ทฤษฎีศิลปะเชิงสัมพันธ์ -- ทฤษฎีกฎเกณฑ์แห่งศิลปะ -- ประติมากรรมและการจัดวางเชิงความคิด -- จากทฤษฎีสู่แนวทางการปฏิบัติ -- ผลงานวิจัยสร้างสรรค์และผลงานสร้างสรรค์ที่เกี่ยวข้อง
520__‡aการเดินทางเมื่อวันเพ็ญเดือนสาม" ศิลปะแห่งการร่วมสร้างสรรค์และปฏิสัมพันธ์เชิงพื้นที่ในชุมชนเครื่องปั้นดินเผาบ้านทุ่งหลวง อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย เป็นงานวิจัยสร้างสรรค์ที่ต้องการนำศิลปะมาใช้เป็นเครื่องมือพัฒนาสังคมตามแนวทางศิลปะร่วมสมัย โดยเชื่อมโยงศิลปัน ผู้ชม สังคมในพื้นที่วิจัยเข้าด้วยกัน โดยนำกระบวนการสร้างสรรค์ประติมากรรมร่วมสมัย แนวคิดทฤษฎีศิลปะแห่งการร่วมสร้างสรรค์ และต้นทุนทางวัฒนธรรมท้องถิ่นมาใช้ ร่วมกับความเชี่ยวชาญ แนวคิด ประสบการณ์ ความทรงจำ และการเผชิญหน้ากับวัสดุที่ใช้ในการสร้างรูปทรงผลงาน มีวัดถุประสงค์ 1) ศึกษาและวิเคราะห์รูปแบบศิลปะแห่งการร่วมสร้างสรรค์ที่สัมพันธ์กับชอบเขตพื้นที่การวิจัยในชุมชนเครื่องปั้นดินผาบ้านทุ่งหลวง 2) สร้างสรรค์ผลงานประตีมากรรมร่วมสมัย จำนวน 5 ชุดผลงาน และ 3) เผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ผ่านการติดตั้งและจัควางสู่สาธารณะ ด้วยระเบียบวิธีวิจัยที่สัมพันธ์กัน 2 ขั้นตอน คือ 1) ปฏิบัติการศิลปะแห่งการร่วมสร้างสรรค์ ที่ใช้การศึกษาคันคว้าภาคทฤษฎีจากเอกสาร การสำรวจและเก็บข้อมูล และสรุปแนวทาง เพื่อสร้างปฏิบัติการร่วมสร้างสรรค์ผ่านกิจกรรมศิลปะ และ 2) การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของศิลปิน และผู้ร่วมสร้างสรรค์ จากประสบการณ์ และจินตนาการส่วนบุคคล อย่างเป็นอิสระผลการวิจัยแสดงลักษณะเฉพาะและประเด็นสำคัญ ตามแนวทางศิลปะแห่งการร่วมสร้างสรรค์ในขอบเขตพื้นที่การวิจัย ซึ่งนำไปสู่การสร้างสรรค์ผลงานที่แสดงเอกภาพ เมื่อได้ติดตั้งและจัดวางภายใต้แนวคิดการสร้างสรรค์ จำนวน 7 ชุด ถูกนำเสนอผ่านนิทรรศการ "การเดินทางเมื่อวันเพ็ญเดือนสาม" ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และ ชุดผลงานจากกิจกรรมศิลปะ จัดแสดง ณ วัดบึงภูเต่า จังหวัดสุโขทัย รวมทั้งได้เผยแพร่ในสื่อสังคมออนไลน์ด้วย ผลกระทบจากปฏิบัติการศิลปะแห่งการร่วมสร้างสรรค์ ได้สร้างความเปลี่ยนแปลงทางบวกแก่ตัวผู้ร่วมสร้างสรรค์และชุมชนเครื่องปั้นดินเผาบ้านทุ่งหลวง ทำให้มีวิถีชีวิตที่ดีขึ้น ด้วยการปรับทัศนียภาพภายในชุมชนฯ บริเวณศูย์ปฏิบัติการร่วมสร้างสรรค์ เลขที่ 54 ถนนสุขาภิบาล 5 ให้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยว ศูนย์เรียนรู้ จำหน่าย และพัฒนาผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่ที่มีชื่อเสียงของชุมชน
650_7‡aความเชื่อ‡xวิจัย
650_7‡aเครื่องปั้นดินเผา‡zสุโขทัย‡xนิทรรศการ‡xวิจัย
650_7‡aศิลปกรรม‡zไทย‡xนิทรรศการ‡xวิจัย
7000_‡aสุธิดา มาอ่อน
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
199813708.9593 ส16กวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด