เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1149198    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการคุ้มครองบุคคลข้ามเพศ : ในกระบวนการยุติธรรมอาญาของไทย : ศึกษากรณีกระบวนวิธีพิจารณาความอาญาชั้นสอบสวน / ฉัตรฑริกา นภาธนาพงศ์
Dewey Call #340.114 ฉ114ก
ผู้แต่งฉัตรฑริกา นภาธนาพงศ์
หัวเรื่องบุคคลข้ามเพศ--วิจัย
 บุคคลข้ามเพศ--สถานภาพทางกฎหมาย--วิจัย
 สิทธิมนุษยชน--วิจัย
 กระบวนการยุติธรรมทางอาญา--วิจัย
ISBN9786163311399
พิมพลักษณ์ 2565
ชื่อเรื่องการคุ้มครองบุคคลข้ามเพศ : ในกระบวนการยุติธรรมอาญาของไทย : ศึกษากรณีกระบวนวิธีพิจารณาความอาญาชั้นสอบสวน / ฉัตรฑริกา นภาธนาพงศ์
Dewey Call #340.114 ฉ114ก
ผู้แต่งฉัตรฑริกา นภาธนาพงศ์
ISBN9786163311399
พิมพลักษณ์ 2565
เนื้อหาข้อความคิดทั่วไปและแนวคิดในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลข้ามเพศในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาขั้นสอบสวน -- การคุ้มครองสิทธิของบุคคลข้ามเพศในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาชั้นสอบสวนของต่างประเทศ -- วิเคราะห์ปัญหาการคุ้มครองสิทธิของบุคคลข้ามเพศในชั้นสอบสวนของประเทศไทยเปรียบเทียบต่างประเทศ
หมายเหตุวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการคุ้มครองบุคคลข้ากระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย โดยมุ่งเน้นศึกษากระบวนวิธีพิจารณาความอาญาชั้นสอบสวนซึ่งเปรียบเสมือนตันธารแห่งความยุติธรรม และมุ่งเน้นศึกษาแนวทางการคุ้มครองกลุ่มบุคคลข้ามเพศซึ่งเป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศลักษณะหนึ่งที่มีเพศสภาพแตกต่างจากเพศกำเนิด และถือบุคคลเปราะบางกลุ่มหนึ่งที่จะต้องได้รับการปฏิบัติโดยคำนึงถึงหลักศักดิ์ศรีความเป็นมิตรภาพ เนื่องจากกลุ่มบุคคลข้ามเพศยังได้รับการตีตราและถูกเลือกปฏิบัติอันส่งผลทางร่างกายและจิตใจเพียงเพราะมีเพศสภาพหรืออัตลักษณ์ทางเพศไม่ตรงกับเพศกำเนิดกฎหมายเปรียบเสมือนกระจกที่สะท้อนบรรทัดฐานของสังคมซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา ในการปรับปรุงแก้ไขจึงเป็นไปเพื่อให้สอดคล้องกับความเป็นพลวัตของสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาซึ่งมีเจตนารมณ์มุ่งคุ้มครองสิทธิของทั้งผู้เสียหายและผู้กระทำความผิดซึ่งเป็นการคุ้มครองโดยคำนึงถึงสิทธิมนุษยชนอีกทั้งจะต้องรักษาสมดุลระหว่างการคุ้มครองสิทธิผู้เสียหายและสิทธิของผู้กระทำความผิดอันเป็นหลักการพื้นฐานของวิธีพิจารณาความอาญาในปัจจุบัน จากการศึกษาพบว่า องค์ความและทัศนคติเกี่ยวกับเพศและความหลากหลายทางเพศในประเทศไทยปัจจุบัน แม้จะได้รับการยอมรับถึงความแตกต่างและการมีตัวตนที่มีวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศที่หลากหลายโดยมิได้มองว่ามีเพียงเพศหญิงและเพศชายเท่านั้นอมล้ำทางสังคม ทั้งในด้านความหลากหลายทางติธรรมทางอาญายังคงเกิดความเหฐานะ และรวมไปถึงความหลากหลายทางเพศด้วย การมีอัตลักษณ์ทางเพศไม่ตรงกับ ของกลุ่มบุคคลข้ามเพศยังคงถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนจากการกระบวนการยุติธรรราตั้งแต่ในชั้นสอบสวน โดยกลุ่มบุคคลข้ามเพศงคถูกเลือกปฏิบัติและยังไม่ได้รับควาามหลักสิทธิมนุษยชนในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาในเรื่องการค้นตัวผู้ต้อง85 รรคหนึ่ง การตรวจตัวผู้ต้องหาหรือผู้เสียหาย ตามมาตรา 132 (1) วรรคสอมปากคำผู้เสียหายกรณีเป็นความผิดเกี่ยวกับเพศตามมาตรา 133 เนื่องจากบทบัญญัติครองเฉพาะผู้ต้องหาหรือผู้เสียหายที่ป็นเพศหญิงเท่านั้น ประเทศไทยซึ่งยังมิได้มีใช้กฎหมายรับรองอัตลักษณ์ทางเพศ จึงส่งผลให้บุคคลข้ามเพศซึ่งมีเพศสภาพแตกต่างจากเพศกำเนิดทั้งในทางสรีระและการดำเนินชีวิตจึงไม่อาจได้รับการรับรองสถานะผ่านกฎหมายให้มีเพศตรงกับเพศสภาพที่ต้องการได้ จึงทำให้ในกระบวนการชั้นสอบสวนไม่ได้รับการคุ้มครองครองตามกฎหมายนอกจากนี้ ในปัจจุบันพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งปฏิบัติหน้าที่อาจต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในหลายรูปแบบ แต่ยังมิได้มีการกำหนดแนวปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่รวมทั้งการสร้างองค์ความรู้ในการปฏิบัติต่อผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มบุคคลข้ามเพศทั้งนี้ ผู้เขียนได้ดำเนินศึกษาแนวทางของต่างประเทศ ได้แก่ สหราชอาณาจักรประเทศออสเตรเลีย ประเทศเยอรมนี และประเทศสวีเดน ซึ่งเป็นกลุ่มประเทศที่ได้มีการรับรองบุคคลข้ามเพศทางกฎหมายให้มีเพศตามที่ตนต้องการ รวมทั้งมีการกำหนดบทบัญญัติคุ้มครองบุคคลข้ามเพศในการค้นตัวผู้ต้องหา ตรวจตัวผู้ต้องหาหรือผู้เสียหาย และถามปากคำผู้เสียหายกรณีเป็นความผิดเกี่ยวกับเพศอย่างชัดเจน อีกทั้งมีการกำหนดแนวปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติต่อบุคคลข้ามเพศอย่างชัดเจนการค้นตัวหรือการตรวจร่างกายเป็นขั้นตอนการสอบสวนที่ส่งผลกระทบต่อสิทธิในเนื้อตัวร่างกาย รวมทั้งการถามปากคำผู้เสียหายในความผิดเกี่ยวกับเพศเป็นขั้นตอนการสอบสวนที่ละเอียดอ่อนและอาจส่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้เสียหายที่เป็นบุคคลข้ามเพศ อีกทั้งในประเทศไทยยังมิได้มีการรับรองบุคคลข้ามเพศผ่านสถานะตามกฎหมาย ปัญหาการขาดบทบัญญัติที่ชัดเจนและแนวปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการคุ้มครองบุคคลข้ามเพศจึงเป็นปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไข ดังนั้นจึงควรมีการแก้ไขบทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิพิจารณาความอาญา อีกทั้งควรกำหนดแนวปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อคุ้มครองบุคคลข้ามเพศให้ขัดเจนเพื่อแก้ไขปัญหาในทางปฏิบัติและเกิดแนวทางการคุ้มครองบุคคลข้ามเพศให้เป็นรูปธรรมตามบริบทของประเทศไทยต่อไป
 วิทยานิพนธ์ (น.ม(วิชาเอกกฎหมายอาญา))--มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2563
หัวเรื่องบุคคลข้ามเพศ--วิจัย
 บุคคลข้ามเพศ--สถานภาพทางกฎหมาย--วิจัย
 สิทธิมนุษยชน--วิจัย
 กระบวนการยุติธรรมทางอาญา--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ[1-13 ],124 หน้า
LDR 04511nam a2200241 4500
005 20221216085010.0
008 221215s2565 th tha d
020__‡a9786163311399
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a340.114‡bฉ114ก
1000_‡aฉัตรฑริกา นภาธนาพงศ์
24510‡aการคุ้มครองบุคคลข้ามเพศ :‡bในกระบวนการยุติธรรมอาญาของไทย :‡bศึกษากรณีกระบวนวิธีพิจารณาความอาญาชั้นสอบสวน /‡cฉัตรฑริกา นภาธนาพงศ์
260__‡c2565
300__‡a[1-13 ],124 หน้า
502__‡aวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการคุ้มครองบุคคลข้ากระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย โดยมุ่งเน้นศึกษากระบวนวิธีพิจารณาความอาญาชั้นสอบสวนซึ่งเปรียบเสมือนตันธารแห่งความยุติธรรม และมุ่งเน้นศึกษาแนวทางการคุ้มครองกลุ่มบุคคลข้ามเพศซึ่งเป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศลักษณะหนึ่งที่มีเพศสภาพแตกต่างจากเพศกำเนิด และถือบุคคลเปราะบางกลุ่มหนึ่งที่จะต้องได้รับการปฏิบัติโดยคำนึงถึงหลักศักดิ์ศรีความเป็นมิตรภาพ เนื่องจากกลุ่มบุคคลข้ามเพศยังได้รับการตีตราและถูกเลือกปฏิบัติอันส่งผลทางร่างกายและจิตใจเพียงเพราะมีเพศสภาพหรืออัตลักษณ์ทางเพศไม่ตรงกับเพศกำเนิดกฎหมายเปรียบเสมือนกระจกที่สะท้อนบรรทัดฐานของสังคมซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา ในการปรับปรุงแก้ไขจึงเป็นไปเพื่อให้สอดคล้องกับความเป็นพลวัตของสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาซึ่งมีเจตนารมณ์มุ่งคุ้มครองสิทธิของทั้งผู้เสียหายและผู้กระทำความผิดซึ่งเป็นการคุ้มครองโดยคำนึงถึงสิทธิมนุษยชนอีกทั้งจะต้องรักษาสมดุลระหว่างการคุ้มครองสิทธิผู้เสียหายและสิทธิของผู้กระทำความผิดอันเป็นหลักการพื้นฐานของวิธีพิจารณาความอาญาในปัจจุบัน จากการศึกษาพบว่า องค์ความและทัศนคติเกี่ยวกับเพศและความหลากหลายทางเพศในประเทศไทยปัจจุบัน แม้จะได้รับการยอมรับถึงความแตกต่างและการมีตัวตนที่มีวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศที่หลากหลายโดยมิได้มองว่ามีเพียงเพศหญิงและเพศชายเท่านั้นอมล้ำทางสังคม ทั้งในด้านความหลากหลายทางติธรรมทางอาญายังคงเกิดความเหฐานะ และรวมไปถึงความหลากหลายทางเพศด้วย การมีอัตลักษณ์ทางเพศไม่ตรงกับ ของกลุ่มบุคคลข้ามเพศยังคงถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนจากการกระบวนการยุติธรรราตั้งแต่ในชั้นสอบสวน โดยกลุ่มบุคคลข้ามเพศงคถูกเลือกปฏิบัติและยังไม่ได้รับควาามหลักสิทธิมนุษยชนในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาในเรื่องการค้นตัวผู้ต้อง85 รรคหนึ่ง การตรวจตัวผู้ต้องหาหรือผู้เสียหาย ตามมาตรา 132 (1) วรรคสอมปากคำผู้เสียหายกรณีเป็นความผิดเกี่ยวกับเพศตามมาตรา 133 เนื่องจากบทบัญญัติครองเฉพาะผู้ต้องหาหรือผู้เสียหายที่ป็นเพศหญิงเท่านั้น ประเทศไทยซึ่งยังมิได้มีใช้กฎหมายรับรองอัตลักษณ์ทางเพศ จึงส่งผลให้บุคคลข้ามเพศซึ่งมีเพศสภาพแตกต่างจากเพศกำเนิดทั้งในทางสรีระและการดำเนินชีวิตจึงไม่อาจได้รับการรับรองสถานะผ่านกฎหมายให้มีเพศตรงกับเพศสภาพที่ต้องการได้ จึงทำให้ในกระบวนการชั้นสอบสวนไม่ได้รับการคุ้มครองครองตามกฎหมายนอกจากนี้ ในปัจจุบันพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งปฏิบัติหน้าที่อาจต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในหลายรูปแบบ แต่ยังมิได้มีการกำหนดแนวปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่รวมทั้งการสร้างองค์ความรู้ในการปฏิบัติต่อผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มบุคคลข้ามเพศทั้งนี้ ผู้เขียนได้ดำเนินศึกษาแนวทางของต่างประเทศ ได้แก่ สหราชอาณาจักรประเทศออสเตรเลีย ประเทศเยอรมนี และประเทศสวีเดน ซึ่งเป็นกลุ่มประเทศที่ได้มีการรับรองบุคคลข้ามเพศทางกฎหมายให้มีเพศตามที่ตนต้องการ รวมทั้งมีการกำหนดบทบัญญัติคุ้มครองบุคคลข้ามเพศในการค้นตัวผู้ต้องหา ตรวจตัวผู้ต้องหาหรือผู้เสียหาย และถามปากคำผู้เสียหายกรณีเป็นความผิดเกี่ยวกับเพศอย่างชัดเจน อีกทั้งมีการกำหนดแนวปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติต่อบุคคลข้ามเพศอย่างชัดเจนการค้นตัวหรือการตรวจร่างกายเป็นขั้นตอนการสอบสวนที่ส่งผลกระทบต่อสิทธิในเนื้อตัวร่างกาย รวมทั้งการถามปากคำผู้เสียหายในความผิดเกี่ยวกับเพศเป็นขั้นตอนการสอบสวนที่ละเอียดอ่อนและอาจส่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้เสียหายที่เป็นบุคคลข้ามเพศ อีกทั้งในประเทศไทยยังมิได้มีการรับรองบุคคลข้ามเพศผ่านสถานะตามกฎหมาย ปัญหาการขาดบทบัญญัติที่ชัดเจนและแนวปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการคุ้มครองบุคคลข้ามเพศจึงเป็นปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไข ดังนั้นจึงควรมีการแก้ไขบทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิพิจารณาความอาญา อีกทั้งควรกำหนดแนวปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อคุ้มครองบุคคลข้ามเพศให้ขัดเจนเพื่อแก้ไขปัญหาในทางปฏิบัติและเกิดแนวทางการคุ้มครองบุคคลข้ามเพศให้เป็นรูปธรรมตามบริบทของประเทศไทยต่อไป
502__‡aวิทยานิพนธ์ (น.ม(วิชาเอกกฎหมายอาญา))--มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2563
505__‡aข้อความคิดทั่วไปและแนวคิดในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลข้ามเพศในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาขั้นสอบสวน -- การคุ้มครองสิทธิของบุคคลข้ามเพศในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาชั้นสอบสวนของต่างประเทศ -- วิเคราะห์ปัญหาการคุ้มครองสิทธิของบุคคลข้ามเพศในชั้นสอบสวนของประเทศไทยเปรียบเทียบต่างประเทศ
650_7‡aบุคคลข้ามเพศ‡xวิจัย
650_7‡aบุคคลข้ามเพศ‡xสถานภาพทางกฎหมาย‡xวิจัย
650_7‡aสิทธิมนุษยชน‡xวิจัย
650_7‡aกระบวนการยุติธรรมทางอาญา‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
201288340.114 ฉ114กวิทยานิพนธ์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด