เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1149200    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องมายาคติร่างกายของคนชายขอบทางเพศวิถีในงานโฆษณา / บดินทร์ เดชาบูรณานนท์
Dewey Call #306.76 บ14ม
ผู้แต่งบดินทร์ เดชาบูรณานนท์
หัวเรื่องเพศวิถี--วิจัย
 ร่างกาย--วิจัย
 คนชายขอบ--วิจัย
 บุคคลข้ามเพศ--วิจัย
ISBN9786163311382
พิมพลักษณ์ 2565
ชื่อเรื่องมายาคติร่างกายของคนชายขอบทางเพศวิถีในงานโฆษณา / บดินทร์ เดชาบูรณานนท์
Dewey Call #306.76 บ14ม
ผู้แต่งบดินทร์ เดชาบูรณานนท์
ISBN9786163311382
พิมพลักษณ์ 2565
เนื้อหาแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -- ระเบียบวิธีวิจัย -- มายาคติร่างกายของคนชายขอบทางเพศวิถีในงานโฆษณา : การวิเคราะห์ตัวบท -- การถอดรหัสร่างกายในงานโฆษณาของกลุ่มผู้ชมที่มีความละเอียดอ่อนเชิงเพศภาวะ บนความแตกต่างทางด้านร่างกายที่หลากหลายทางเพศวิถี
หมายเหตุการวิจัยเรื่องมายาคติร่างกายของคนชายขอบทางเพศวิถีในงานโฆษณา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการประกอบสร้างความหมายด้านร่างกายของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในงานโฆษณา และการถอครหัสเรื่องร่างกายในงานโฆษณาของผู้ชมที่มีความละเอียดอ่อนเชิงเพศภาวะบนความหลากหลายทางร่างกาข โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการวิเคราะห์ตัวบท และการสัมภาษณ์เชิงลึก แนวคิดทฤษฎีที่ใช้เป็นกรอบในการศึกษา ได้แก่ ร่างกายของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ สัญวิทขาและการเล่าเรื่อง การโฆษณา และการเข้ารหัสและการถอครหัสผลการวิจัยพบว่า สังคมพหฺวัฒนธรรมแบบใหม่ในปัจจุบัน เน้นความเท่าเทียมและขอมรับความแตกต่างทางร่างกายของคนชายขอบทางเพศวิถีมากขึ้น ซึ่งผู้วิจัยได้ศึกษางานโฆษณาสินค้าและองค์กรที่นำเสนอประเด็นร่างกายของคนชายของทางเพศวิถี จำนวน 7 เรื่อง แสดงให้เห็นถึงอำนาจในการควบคุม จัดการ ในการประกอบสร้างความหมายด้านร่างกายที่ไม่หยุดนิ่ง ส่งผลให้เกิดเป็นมายากศิร่างกายของคนชายขอบทางเพศวิถีที่หลากหลาย ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 รูปแบบ กล่าวคือ1) การจัดการร่างกายของคนชายขอบทางเพศวิถีที่สังคมไม่ยอมรับ หรือได้รับการยอมรับ กล่าวคือร่างกายของผู้หญิงข้ามเพศเป็นร่างกายที่มีสินค้าอาหารเข้ามากำหนด หากพิจารณาในมิติการจัดการร่างกายของตัวละครนั้นมีลักษณะข้อนแข้ง ซึ่งมีการใช้อำนาจในการจัดการร่างกายที่สามารถเลือกเองได้ ในการเปลี่ยนร่างกายจากชายเป็นสาวสวยอย่างรื่นรมย์ ชวนให้เพศตรงข้ามหมายปอง ในขณะเดียวกันเมื่อสังคมรู้ความจริงว่าสาวสวยเป็นผู้หญิงข้ามเพศ จึงมีการปฏิเสธร่างกาย ส่งผลให้เกิดการเหยียดเพศ 2) การจัดการร่างกายของคนชายขอบทางเพศวิถี เพื่อต่อสู้ให้เกิดการยอมรับกล่าวคือ ร่างกายมีการจำแลงแปลงกายแบบชั่วคราว เป็นครูชายแต่งเป็นผู้หญิง หรือเปลี่ยนถาวรเป็นร่างกายของผู้หญิงข้ามเพศ โดยมีสินค้าความงามเข้ามากำหนด การจัดการร่างกายของตัวละกรต้องใช้ความอดทนและต่อสู้ที่รุนแรงขึ้น ภายใต้การดำเนินเรื่องราวโดยใช้สถานการณ์จริงควบคู่กับการบริโภคสินค้าเพื่อให้เกิดการยอมรับจากสังคม และ 3) การก้าวข้ามร่างกายของคนชายชอบทางเพศวิถี อันนำไปสู่ความเท่าเทียม เมื่อสินค้าปลดปล่อยไปสู่การสร้างพลังการเปลี่ยนแปลงเพื่อรณรงค์หรือสนับสนุน โดยหยิบประเด็นเรื่องความเท่าเทียมของคนชายชอบทางเพศวิถีมานำเสนอภายใต้วาทกรรมบางอย่างที่เข้ามากำหนดกล่าวในส่วนของการถอดรหัสความหมายเรื่องร่างกายในงานโฆษณาของผู้ชมที่มีความละเอียดอ่อนเชิงเพศภาวะ บนความหลากหลายทางร่างกายนั้น ภายใต้บริบทสังคมยุคใหม่ผู้ชมมีการอ่านความหมายที่มีความหลากหลาย หากแต่ในภาพรวมส่วนใหญ่ พบว่า ผู้ชมมีการอ่านความหมายแบบสอดคล้องกับผู้ผลิต เป็นจำนวนมากที่สุด แต่ในขณะเดียวกันกลับมีการอ่านความหมายแบบต่อรอง เป็นจำนวนรองลงมาได้ด้วย ส่วนการอ่านความหมายแบบต่อต้านมีจำนวนน้อยที่สุดสำหรับประเด็นการถอครหัสความหมายเรื่องร่างกายในงานโฆษณาของผู้ชม ยังสามารถสะท้อนถึงในค้านการสื่สารของงานโฆษณาที่เป็นสารซ้อนสาร โดยพยายามนำเสนอองราวให้เข้ากับสังคมยุคใหม่ หากแต่ในด้านต่อมากลับพบบางกรณีที่งานโฆษณาไม่สามารถอสารอย่างตั้งใจไว้ได้ เช่นการมีร่างกายที่หลากหลายทางเพศได้ หากแต่ต้องเป็นคนดี เป็นต้น
 วิทยานิพนธ์ (ปร.ด.(วิชาเอกนิเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์,2565
หัวเรื่องเพศวิถี--วิจัย
 ร่างกาย--วิจัย
 คนชายขอบ--วิจัย
 บุคคลข้ามเพศ--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ[ฆ - ฏ], 276 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 03610nam a2200241 4500
005 20221216082800.0
008 221215s2565 th a ||| | tha d
020__‡a9786163311382
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a306.76‡bบ14ม
1000_‡aบดินทร์ เดชาบูรณานนท์
24510‡aมายาคติร่างกายของคนชายขอบทางเพศวิถีในงานโฆษณา /‡cบดินทร์ เดชาบูรณานนท์
260__‡c2565
300__‡a[ฆ - ฏ], 276 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
502__‡aการวิจัยเรื่องมายาคติร่างกายของคนชายขอบทางเพศวิถีในงานโฆษณา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการประกอบสร้างความหมายด้านร่างกายของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในงานโฆษณา และการถอครหัสเรื่องร่างกายในงานโฆษณาของผู้ชมที่มีความละเอียดอ่อนเชิงเพศภาวะบนความหลากหลายทางร่างกาข โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการวิเคราะห์ตัวบท และการสัมภาษณ์เชิงลึก แนวคิดทฤษฎีที่ใช้เป็นกรอบในการศึกษา ได้แก่ ร่างกายของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ สัญวิทขาและการเล่าเรื่อง การโฆษณา และการเข้ารหัสและการถอครหัสผลการวิจัยพบว่า สังคมพหฺวัฒนธรรมแบบใหม่ในปัจจุบัน เน้นความเท่าเทียมและขอมรับความแตกต่างทางร่างกายของคนชายขอบทางเพศวิถีมากขึ้น ซึ่งผู้วิจัยได้ศึกษางานโฆษณาสินค้าและองค์กรที่นำเสนอประเด็นร่างกายของคนชายของทางเพศวิถี จำนวน 7 เรื่อง แสดงให้เห็นถึงอำนาจในการควบคุม จัดการ ในการประกอบสร้างความหมายด้านร่างกายที่ไม่หยุดนิ่ง ส่งผลให้เกิดเป็นมายากศิร่างกายของคนชายขอบทางเพศวิถีที่หลากหลาย ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 รูปแบบ กล่าวคือ1) การจัดการร่างกายของคนชายขอบทางเพศวิถีที่สังคมไม่ยอมรับ หรือได้รับการยอมรับ กล่าวคือร่างกายของผู้หญิงข้ามเพศเป็นร่างกายที่มีสินค้าอาหารเข้ามากำหนด หากพิจารณาในมิติการจัดการร่างกายของตัวละครนั้นมีลักษณะข้อนแข้ง ซึ่งมีการใช้อำนาจในการจัดการร่างกายที่สามารถเลือกเองได้ ในการเปลี่ยนร่างกายจากชายเป็นสาวสวยอย่างรื่นรมย์ ชวนให้เพศตรงข้ามหมายปอง ในขณะเดียวกันเมื่อสังคมรู้ความจริงว่าสาวสวยเป็นผู้หญิงข้ามเพศ จึงมีการปฏิเสธร่างกาย ส่งผลให้เกิดการเหยียดเพศ 2) การจัดการร่างกายของคนชายขอบทางเพศวิถี เพื่อต่อสู้ให้เกิดการยอมรับกล่าวคือ ร่างกายมีการจำแลงแปลงกายแบบชั่วคราว เป็นครูชายแต่งเป็นผู้หญิง หรือเปลี่ยนถาวรเป็นร่างกายของผู้หญิงข้ามเพศ โดยมีสินค้าความงามเข้ามากำหนด การจัดการร่างกายของตัวละกรต้องใช้ความอดทนและต่อสู้ที่รุนแรงขึ้น ภายใต้การดำเนินเรื่องราวโดยใช้สถานการณ์จริงควบคู่กับการบริโภคสินค้าเพื่อให้เกิดการยอมรับจากสังคม และ 3) การก้าวข้ามร่างกายของคนชายชอบทางเพศวิถี อันนำไปสู่ความเท่าเทียม เมื่อสินค้าปลดปล่อยไปสู่การสร้างพลังการเปลี่ยนแปลงเพื่อรณรงค์หรือสนับสนุน โดยหยิบประเด็นเรื่องความเท่าเทียมของคนชายชอบทางเพศวิถีมานำเสนอภายใต้วาทกรรมบางอย่างที่เข้ามากำหนดกล่าวในส่วนของการถอดรหัสความหมายเรื่องร่างกายในงานโฆษณาของผู้ชมที่มีความละเอียดอ่อนเชิงเพศภาวะ บนความหลากหลายทางร่างกายนั้น ภายใต้บริบทสังคมยุคใหม่ผู้ชมมีการอ่านความหมายที่มีความหลากหลาย หากแต่ในภาพรวมส่วนใหญ่ พบว่า ผู้ชมมีการอ่านความหมายแบบสอดคล้องกับผู้ผลิต เป็นจำนวนมากที่สุด แต่ในขณะเดียวกันกลับมีการอ่านความหมายแบบต่อรอง เป็นจำนวนรองลงมาได้ด้วย ส่วนการอ่านความหมายแบบต่อต้านมีจำนวนน้อยที่สุดสำหรับประเด็นการถอครหัสความหมายเรื่องร่างกายในงานโฆษณาของผู้ชม ยังสามารถสะท้อนถึงในค้านการสื่สารของงานโฆษณาที่เป็นสารซ้อนสาร โดยพยายามนำเสนอองราวให้เข้ากับสังคมยุคใหม่ หากแต่ในด้านต่อมากลับพบบางกรณีที่งานโฆษณาไม่สามารถอสารอย่างตั้งใจไว้ได้ เช่นการมีร่างกายที่หลากหลายทางเพศได้ หากแต่ต้องเป็นคนดี เป็นต้น
502__‡aวิทยานิพนธ์ (ปร.ด.(วิชาเอกนิเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์,2565
5052_‡aแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -- ระเบียบวิธีวิจัย -- มายาคติร่างกายของคนชายขอบทางเพศวิถีในงานโฆษณา : การวิเคราะห์ตัวบท -- การถอดรหัสร่างกายในงานโฆษณาของกลุ่มผู้ชมที่มีความละเอียดอ่อนเชิงเพศภาวะ บนความแตกต่างทางด้านร่างกายที่หลากหลายทางเพศวิถี
650_7‡aเพศวิถี‡xวิจัย
650_7‡aร่างกาย‡xวิจัย
650_7‡aคนชายขอบ‡xวิจัย
650_7‡aบุคคลข้ามเพศ‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
201295306.76 บ14มวิทยานิพนธ์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   กำหนดคืน:03 ส.ค. 2568
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด