เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1149352    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการสำรวจการดำเนินงานส่งเสริมโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในจังหวัดปัตตานี : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ / ลักษณา ไชยมงคล, อภิรดี แซ่ลิ่ม, สุณีย์ บุญกำเหนิด
ชื่อเรื่องSurvey on school-based nutrition promotion program (SNPP) for Early Childhood Development Centers in Pattani Province
 รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การสำรวจการดำเนินงานส่งเสริมโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในจังหวัดปัตตานี
Dewey Call #613.2083 ล111ก
ผู้แต่งลักษณา ไชยมงคล
ผู้แต่งเพิ่มเติมอภิรดี แซ่ลิ่ม
 สุณีย์ บุญกำเหนิด
หัวเรื่องCHILDREN--NUTRITION--RESEARCH
 เด็ก--โภชนาการ--วิจัย
พิมพลักษณ์ปัตตานี : กองทุนวิจัยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2560
ชื่อเรื่องการสำรวจการดำเนินงานส่งเสริมโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในจังหวัดปัตตานี : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ / ลักษณา ไชยมงคล, อภิรดี แซ่ลิ่ม, สุณีย์ บุญกำเหนิด
ชื่อเรื่องSurvey on school-based nutrition promotion program (SNPP) for Early Childhood Development Centers in Pattani Province
 รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การสำรวจการดำเนินงานส่งเสริมโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในจังหวัดปัตตานี
Dewey Call #613.2083 ล111ก
ผู้แต่งลักษณา ไชยมงคล
ผู้แต่งเพิ่มเติมอภิรดี แซ่ลิ่ม
 สุณีย์ บุญกำเหนิด
พิมพลักษณ์ปัตตานี : กองทุนวิจัยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2560
หัวเรื่องCHILDREN--NUTRITION--RESEARCH
 เด็ก--โภชนาการ--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ87 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 05526nam a2200241 4500
005 20230120142001.0
008 230120s2560 th tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a613.2083‡bล111ก
1000_‡aลักษณา ไชยมงคล
24510‡aการสำรวจการดำเนินงานส่งเสริมโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในจังหวัดปัตตานี :‡bรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ /‡cลักษณา ไชยมงคล, อภิรดี แซ่ลิ่ม, สุณีย์ บุญกำเหนิด
24631‡aSurvey on school-based nutrition promotion program (SNPP) for Early Childhood Development Centers in Pattani Province
24630‡aรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การสำรวจการดำเนินงานส่งเสริมโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในจังหวัดปัตตานี
260__‡aปัตตานี :‡bกองทุนวิจัยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี,‡c2560
300__‡a87 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
520__‡aการมีภาวะโภชนาการดีมีความสำคัญกับชีวิตมนุษย์ทุกคน เด็กในช่วงวัยต้นของชีวิตที่ได้รับการดูแลที่ดีทางด้านโภชนาการจะมีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ มีสุขภาวะ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นหน่วยงานที่ส่งผลโดยตรงกับการบ่มเพาะพฤติกรรมการกิน การส่งเสริมสุขภาพ และสมรรถนะในการเรียนรู้ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมโภชนาการนักเรียนรวมทั้งปัจจัยที่เกี่ยวข้องในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวาง สุ่มศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในจังหวัดปัตตานีมา 112 ศูนย์ ครอบคลุมในทุกอำเภอ ทำการสัมภาษณ์ครูและแม่ครัวเกี่ยวกับการดำเนินงานที่เกี่ยวกับโภชนาการ ชั่งน้ำหนักส่วนประกอบอาหารในเมนูอาหารกลางวันที่จัดบริการ จำนวน 1 วัน คำนวณสารอาหาร ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงนักเรียนในศูนย์ที่สุ่มมาศูนย์ละ 8 คน ทั้งหมด 891 คน เพื่อประเมินภาวะโภชนาการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการส่งเสริมโภชนาการในโรงเรียนโดยใช้ Multiple logistic regression analysis ผลการศึกษา พบว่า ศูนย์เด็กเล็ก ประมาณ 1 ใน 3 มีการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมโภชนาการอยู่ในเกณฑ์คุณภาพค่อนข้างต่ำ ความพอเพียงของครู การประชุมบุคลากรทัศนคติของครู และนโยบายทางด้านโภชนาการ เป็นประเด็นที่สัมพันธ์กับคุณภาพในการส่งเสริมโภชนาการในโรงเรียน อาหารกลางวันที่จัดบริการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีคุณค่าทางโภชนาการไม่เพียงพอ มีเพียงวิตามินบีสอง และแคลเซียมเท่านั้นที่มีปริมาณตามมาตรฐาน ความชุกของเด็กวัยก่อนเรียนที่มีภาวะผอม เตี้ย น้ำหนักต่ำกว่ากณฑ์ และการขาดสารอาหารรวมทุกประเภท คิดเป็นร้อยละ16.8 และ 27.4 ตามลำดับและยังพบว่า เด็กที่นับถือศาสนาอิสลามมีความเสี่ยงต่อขาดสารอาหารสูงกว่าเด็กที่นับถือศาสนาพุทธถึง 3.69 เท่า อายุเด็กที่เพิ่มขึ้นมีความเสี่ยงต่อการขาดสารอาหารเพิ่มขึ้น และผู้ปกครองที่ทำอาชีพเกษตรเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการมีบุตรที่ขาดอาหารมากกว่าผู้ปกครองที่รับราชการถึง 3.46 เท่า สรุปได้ว่า การดำเนินงานส่งเสริมโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในจังหวัดปัตตานียังต้องการส่งเสริมให้มีคุณภาพ อาหารกลางวันที่จัดบริการยังไม่ได้คุณภาพตามมาตรฐาน ความชุกของเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการยังสูง องค์กรท้องถิ่นรวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องควรจะมีการดำเนินการส่งเสริมติดตาม ดูแลการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพต่อไป
520__‡aProper nutrition is important to all human beings. People who are nurturedwith proper nutrition from the early childhood period can enjoy optimal growth, healthand wellbeing. Early childhood development centres (ECDC) has a huge effect onchildren's eating behaviours, health improvement, educational performance andlearning, The aim of this study was to determine the situation of school-based nutritionpromotion program (SNPP) in ECDC and find out the associated factors. The cross-sectional study of teacher and cook from randomly selected 112 ECDC of Pattaniprovince were used to evaluate the status of SNPP. Nutrition values of school lunchserved to children were calculated. Nutritional status of children aged two to five yearsenrolled in the ECDCs was assessed. Multiple logistic regression analysis was used todetermine and predict the relation with outcomes and its associated factors.The results showed that almost one third (33%) of the ECDC in the provincehad poor SNPP status. Teacher's sufficiency, provision of staff meeting, teacher'sattitude and nutrition policy status were the major influencing factor for theimprovement of SNPP, Both the teachers and cook's knowledge and attitude onnutrition were not satisfactory. The school lunch did not provide the recommendedamount of almost all the essential nutrients. Based on 70% achievement of nutrientsrecommended for school lunch (40% of total DRI), only vitamin B2 and calcium wereadequate in all the centers. Almost three-fourth of the centers lacked adequateount of carbohydrate and vitamin B1. Prevalence of undernutrition was esti (7.7%, 19.6%, 16.8% and 27.4% were wasted, stunted, underweight and overall CIAF,respectively) to be high in comparison with the national average. The result showedthat the children with Muslim religion were 3.69 times more vulnerable todernutrition than Buddhist children. As the age increased the rate of undased. The possibility of undernutrition was 3.46 times higher in thof mother in agriculture occupation as compared to mother in government sevice.The study findings highlighted that SNPP in the province was poor in one thirdof the centers, the quality of school lunch was far from the recommended target andmalnutrition is still a public health problem. Therefore, to confine future burden, localgovernment and ECDC authorities should effectively implement SNPP with major focuson significant variables, dietary guideline based school lunch feeding and routineanthropometric assessments of children.
650_7‡aCHILDREN‡xNUTRITION‡xRESEARCH
650_7‡aเด็ก‡xโภชนาการ‡xวิจัย
7000_‡aอภิรดี แซ่ลิ่ม
7000_‡aสุณีย์ บุญกำเหนิด
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
196598613.2083 ล111กวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด