เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1149361    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้สอดคล้องกับต้นทุนทางสังคมและวัฒนธรรมบ้านหนองอ้อ จังหวัดเชียงราย : รายงานการวิจัย / ขวัญฤทัย ครองยุติ และคณะ
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย การพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้สอดคล้องกับต้นทุนทางสังคมและวัฒนธรรมบ้านหนองอ้อ จังหวัดเชียงราย
Dewey Call #338.4791 ข17ก
ผู้แต่งขวัญฤทัย ครองยุติ
ผู้แต่งเพิ่มเติมอรวรรณ บุญพัฒน์
 เสงี่ยม บุญพัฒน์
หัวเรื่องการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม--เชียงราย--วิจัย
 วัฒนธรรมกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว--วิจัย
 การท่องเที่ยวโดยชุมชน--วิจัย
พิมพลักษณ์เชียงราย : โปรแกรมวิชาการจัดการการท่องเที่ยว สำนักวิชาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 2562
ชื่อเรื่องการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้สอดคล้องกับต้นทุนทางสังคมและวัฒนธรรมบ้านหนองอ้อ จังหวัดเชียงราย : รายงานการวิจัย / ขวัญฤทัย ครองยุติ และคณะ
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย การพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้สอดคล้องกับต้นทุนทางสังคมและวัฒนธรรมบ้านหนองอ้อ จังหวัดเชียงราย
Dewey Call #338.4791 ข17ก
ผู้แต่งขวัญฤทัย ครองยุติ
ผู้แต่งเพิ่มเติมอรวรรณ บุญพัฒน์
 เสงี่ยม บุญพัฒน์
พิมพลักษณ์เชียงราย : โปรแกรมวิชาการจัดการการท่องเที่ยว สำนักวิชาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 2562
หัวเรื่องการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม--เชียงราย--วิจัย
 วัฒนธรรมกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว--วิจัย
 การท่องเที่ยวโดยชุมชน--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ95 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 03556nam a2200229 4500
005 20230125101440.0
008 230124s2562 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a338.4791‡bข17ก
1000_‡aขวัญฤทัย ครองยุติ
24510‡aการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้สอดคล้องกับต้นทุนทางสังคมและวัฒนธรรมบ้านหนองอ้อ จังหวัดเชียงราย :‡bรายงานการวิจัย /‡cขวัญฤทัย ครองยุติ และคณะ
24630‡aรายงานการวิจัย การพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้สอดคล้องกับต้นทุนทางสังคมและวัฒนธรรมบ้านหนองอ้อ จังหวัดเชียงราย
260__‡aเชียงราย :‡bโปรแกรมวิชาการจัดการการท่องเที่ยว สำนักวิชาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย,‡c2562
300__‡a95 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
520__‡aการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาต้นทุนทางสังคมวัฒนธรรมของชุมชนบ้านหนองอ้ออำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย 2) ศึกษาทรัพยากรการท่องเที่ยวตามองค์ประกอบการท่องเที่ยวชุมชนบ้านหนองอ้อ อำเภอแม่ฉัน จังหวัดเชียงราย 3) พัฒนากิจกรรมทางการท่องเที่ยวและโปรแกรมการท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับต้นทุนทางสังคมวัฒนธรรมและทรัพยากรการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านหนองอ้อ อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย และ 4) ประเมินความพร้อมในการจัดกิจกรรมและโปรแกรมการท่องเที่ยวชุมชนบ้านหนองอ้อ อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย ใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน(Mixed Methods Research) รวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตแบบมีส่วนร่วม การสนทนากลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลหลักประกอบด้วยปราชญ์ชาวบ้านและผู้นำชุมชนอย่างเป็นทางการ รวมทั้งสิ้น 14 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา รวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถามจากนักท่องเที่ยว อาสาสมัคร และตัวแทนผู้เกี่ยวข้องในการส่งเสริมการท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย จำนวน 40 คนผลการศึกษาพบว่า ชุมชนบ้านหนองอ้อมีต้นทุนทางสังคมที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สามารถพัฒนาเป็นกิจกรรมการท่องเที่ยวซึ่งแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1) ภูมิปัญญา ภูมิปัญญาของคนในชุมชนบ้านหนองอ้อประกอบด้วยภูมิปัญญาการทอตุงและการจักสาน 2) ความเชื่อ ชุมชนบ้านหนองอ้อมีความเชื่อเรื่องการทำนายดวงชะตา การไหว้ผีปู่ผีผ่า และความเชื่อในเรื่องหลักคำสอนของพุทธศาสนา 3) วิถีชีวิต ชาวบ้านในชุมชนบ้านหนองอ้อส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมจักสานและทอตุง สำหรับอาหารและการแต่งกาย ประเพณีวัฒนธรรม และที่อยู่อาศัยชุมชนมีวิถีชีวิตที่คล้ายคลึงกับชุมชนทั่วไปในภาคเหนือ 4) สิ่งดีงามที่คนในอดีตทำไว้ ชุมชนบ้านหนองอ้อมีพระพุทธรูปเก่าแก่และสำคัญของภาคเหนือคือพระสิงห์สามมีอายุมากกว่า 100 ปี ทั้งนี้ยังมีทรัพยากรการท่องเที่ยวที่เพียงพอต่อการดำเนินการท่องเที่ยว ประกอบด้วย สิ่งดึงดูดใจทั้งในด้านสถานที่วิถีชีวิต และผลิตภัณฑ์ มีกิจกรรมที่พัฒนาขึ้นในบริบทของชุมชน การเดินทางเข้าถึงที่สะดวก มีระบบสาธารณูปโภค ร้านค้า ร้านอาหารเพียงพอในการรองรับนักท่องเที่ยว อีกทั้งมีการบริการที่พักแบบโฮมสเตย์ในชุมชน โดยกิจกรรมที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 7 กิจกรรม สำหรับการประเมิน ความพร้อมในการจัดกิจกรรมและโปรแกรมการท่องเที่ยวพบว่า ชุมชนมีความพร้อมในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีความพร้อมในด้านกิจกรรม ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก และด้านที่พักในระดับมากและมีความพร้อมในด้านจุดดึงดูดทางการท่องเที่ยว และด้านการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวในระดับปานกลาง ทั้งนี้ชุมชนควรมีการนำกิจกรรมข้างต้นไปใช้ในการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างจริงจังเพื่อเป็นเครื่องมือในการอนุรักษ์และสืบสานต้นทุนทางสังคมและวัฒนธรรมของตนเองและยังสามารถสร้างรายได้เสริมจากการให้บริการการท่องเที่ยวแก่นักท่องเที่ยว อย่างไรก็ตามชุมชนควรมีการจัดอบรมพัฒนามัคคุเทศก์ท้องถิ่น และควรมีการจัดตั้งสหกรณ์บริการของชุมชน เพื่อให้สามารถบริหารจัดการเงินหรือรายได้ที่มาจากการท่องเที่ยวของชุมชนได้อย่างเป็นสัดส่วนและเท่าเทียม
650_7‡aการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม‡zเชียงราย‡xวิจัย
650_7‡aวัฒนธรรมกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว‡xวิจัย
650_7‡aการท่องเที่ยวโดยชุมชน‡xวิจัย
7000_‡aอรวรรณ บุญพัฒน์
7000_‡aเสงี่ยม บุญพัฒน์
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
201483338.4791 ข17กวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด