เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1149362    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องแนวทางการพัฒนาเชียงแสนสู่การเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ (Hab) การท่องเที่ยวในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง : รายงานการวิจัย / รักติบูล จันทนุปาน
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย แนวทางการพัฒนาเชียงแสนสู่การเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ (Hab) การท่องเที่ยวในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
Dewey Call #338.4791 ร111น
ผู้แต่งรักติบูล จันทนุปาน
หัวเรื่องอุตสาหกรรมท่องเที่ยว--ไทย--วิจัย
 การท่องเที่ยว--แง่เศรษฐกิจ--วิจัย
พิมพลักษณ์เชียงราย : โปรแกรมวิชาการจัดการการท่องเที่ยว สำนักวิชาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 2562
ชื่อเรื่องแนวทางการพัฒนาเชียงแสนสู่การเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ (Hab) การท่องเที่ยวในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง : รายงานการวิจัย / รักติบูล จันทนุปาน
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย แนวทางการพัฒนาเชียงแสนสู่การเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ (Hab) การท่องเที่ยวในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
Dewey Call #338.4791 ร111น
ผู้แต่งรักติบูล จันทนุปาน
พิมพลักษณ์เชียงราย : โปรแกรมวิชาการจัดการการท่องเที่ยว สำนักวิชาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 2562
หัวเรื่องอุตสาหกรรมท่องเที่ยว--ไทย--วิจัย
 การท่องเที่ยว--แง่เศรษฐกิจ--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ135 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 02099nam a2200193 4500
005 20230125111342.0
008 230125s2562 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a338.4791‡bร111น
1000_‡aรักติบูล จันทนุปาน
24510‡aแนวทางการพัฒนาเชียงแสนสู่การเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ (Hab) การท่องเที่ยวในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง :‡bรายงานการวิจัย /‡cรักติบูล จันทนุปาน
24630‡aรายงานการวิจัย แนวทางการพัฒนาเชียงแสนสู่การเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ (Hab) การท่องเที่ยวในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
260__‡aเชียงราย :‡bโปรแกรมวิชาการจัดการการท่องเที่ยว สำนักวิชาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย,‡c2562
300__‡a135 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
520__‡aงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาโอกาสความเป็นศูนย์กลางโลจิสติ๊กส์การท่องเที่ยวในอนุภูมิกาคลุ่มน้ำโขง เพื่อศึกษาศักยภาพของอำเภอเชียงแสนต่อการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์การท่องเที่ยวในอนุภาคลุ่มน้ำโขง เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาอำเภอเชียงแสนสู่การเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์การท่องเที่ยวในอนุภาคลุ่มน้ำโขง เก็บข้อมูลโดยการสังเกต การสัมภาษณ์เชิงลึกและสนทนากลุ่มย่อขจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการการท่องเที่ยวทั้งภาครัฐและเอกชนของจังหวัดเชียงรายจำนวน 11 รายผลการวิจัยพบว่าเชียงแสนสามารถเปีนศูนย์กลางโลจิสติกส์การท่องเที่ยวในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงได้ เพราะข้อได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ของเชียงแสนที่อยู่ในตำแหน่งที่ตั้งเป็นศูนย์กลางของภูมิภาค การมีแหล่งท่องเที่ยวที่ โคคเด่น และมีโครงสร้างพื้นฐานสนับสนุน ศักยภาพที่เหมาะสมของเชียงแสนต่อการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์การท่องเที่ยวในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ได้แก่แหล่งท่องเที่ยวของเชียงแสน การให้บริการด่านตรวจคนเข้าเมือง การคมนาคมขนส่งเชื่อมโยงความพร้อมของคนท้องถิ่นและการสนับสนุนโดของค์กรที่เกี่ยวข้อง แนวทางการพัฒนาเชียงแสนสู่การเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์การท่องเที่ยวในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ได้แก่ พัฒนาความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานและคน พัฒนาทุกภาคส่วนแบบองค์รวมเพื่อให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ก่อตั้งองค์กรเฉพาะ จัดให้มีความปลอดภัยและการบริการต่างๆ กำหนดกฎ เกณฑ์ ระเบียบต่างๆที่จำเพาะและทำให้เข้าสู่มาตรฐานการท่องเที่ยวและการบริการ
650_7‡aอุตสาหกรรมท่องเที่ยว‡zไทย‡xวิจัย
650_7‡aการท่องเที่ยว‡xแง่เศรษฐกิจ‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
201482338.4791 ร111นวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด