เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1149506    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องบทบาทและแนวทางการส่งเสริมประสิทธิภาพการดำเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 / เลิศพร อุดมพงษ์
Dewey Call #341.48 ล68บ
ผู้แต่งเลิศพร อุดมพงษ์
หัวเรื่องรัฐธรรมนูญ--ไทย--วิจัย
 รัฐธรรมนูญ--ไทย
ISBN9786164762428
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2565
ชื่อเรื่องบทบาทและแนวทางการส่งเสริมประสิทธิภาพการดำเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 / เลิศพร อุดมพงษ์
Dewey Call #341.48 ล68บ
ผู้แต่งเลิศพร อุดมพงษ์
ISBN9786164762428
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2565
เนื้อหาทบทวนวรรณกรรม -- วิธีการศึกษา -- ผลการศึกษา -- สรุปผลการศึกษา อภิปราย และข้อเสนอแนะ
หัวเรื่องรัฐธรรมนูญ--ไทย--วิจัย
 รัฐธรรมนูญ--ไทย
ลักษณะทางกายภาพ197 หน้า : ภาพประกอบ
LDR 02947nam a2200205 4500
005 20230314141550.0
008 230313s2565 th a ||| | tha d
020__‡a9786164762428‡c275
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a341.48‡bล68บ
1000_‡aเลิศพร อุดมพงษ์
24510‡aบทบาทและแนวทางการส่งเสริมประสิทธิภาพการดำเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 /‡cเลิศพร อุดมพงษ์
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bสถาบันพระปกเกล้า,‡c2565
300__‡a197 หน้า : ‡bภาพประกอบ
505__‡aทบทวนวรรณกรรม -- วิธีการศึกษา -- ผลการศึกษา -- สรุปผลการศึกษา อภิปราย และข้อเสนอแนะ
520__‡aงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทและสภาพการดำเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 เพื่อนำเสนอแนวทางการส่งเสริมประสิทธิภาพในการดำเนินงานของ กสม. ที่เหมาะสม ใช้การเก็บข้อมูลโดยวิธีการเชิงคุณภาพ โดยการสนทนากลุ่มกับประชากรเป้าหมาย คือ ผู้ที่เป็นตัวแทนภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานด้านสิทธิมนุษยชน ที่อยู่ในพื้นที่ซึ่งเป็นที่ตั้งของศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชนของ กสม.5 จังหวัด จำนวน 58 คน และ การศึกษาวิเคราะห์เอกสารวิซาการต่าง ๆ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการดีความเชิงพรรณนาข้อมูลการวิเคราะห์เนื้อหา และการสร้างคำอธิบายจากปรากฏการณ์ที่ศึกษาด้วยวิธีการแบบอุปนัย ผลการศึกษา พบว่า กสม. สามารถดำเนินงานตามหน้าที่และอำนาจได้อย่างครบถ้วนและบรรลุตามตัวชี้วัดต่าง ๆ บนข้อจำกัด นานัปการ และความผันผวนจากปัจจัยภายในรวมถึงการไม่ได้รับควาหน่วยงานต่าง ๆ ผลการวิเคราะห์บทบาทและการดำเนินงานของ nบว่า การรับรู้ในบทบาทและการดำเนินงานของ กสม.ทั้งในส่วนกลางระดับพื้นที่ มีค่อนข้างน้อย ประชาชนและภาคประชาสังคมไม่ค่อยเชื่อมั่นในการทำงาน และขาดความไว้วางใจ สำหรับประเด็นความเหมาะสมของกระบวนการสรรหาและคุณสมบัติของ กสม. นั้น ส่วนใหญ่ยังเห็นว่ามีความเหมาะสม แต่มีข้อสังเกตว่าที่มาของ กสม. ยังยึดโยงกับประชาชนน้อย รวมทั้ง กระบวนการสรรหาที่กำหนดเป็นอุปสรรคปิดกั้นมีให้ผู้แทนภาคประชาชนได้มีโอกาสในการรับเลือก แนวทางการส่งเสริมประสิทธิภาพในการดำเนินงานของ กสม. ที่เหมาะสม ประกอบด้วย การแก้ไขกฎหมายที่เอื้อให้ กสม. ทำงานในฐานะองค์กรอิสระที่มีหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐและการปกป้องคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประชาชนได้มากขึ้น แก้ไขเรื่องการระบุจำนวนและคุณสมบัติของผู้ที่จะดำรงตำแหน่ง กสม. ควรมีการกำหนดกลไกการทำงานในระดับย่อยจากส่วนกลาง ควรมีการกำหนดให้มีสำนักงานกสม. ระดับจังหวัดหรือภูมิภาคเป็นหน่วยงานของตนเอง ควรจัดสรรทรัพยากรต่าง 1 อย่างเพียงพอ ต้องมีการคัดเลือกและพัฒนาบุคลากรในการทำงานระดับพื้นที่อย่างเข้าถึงและเข้าใจประชาชน ปรับเปลี่ยนวิธีการทำงาน เพื่อทำให้ประชาชนรู้สึกเข้าถึงได้ง่าย ต้องมีการปรับปรุงภาพลักษณ์ของ กสม. ในการทำงาน ต้องทำงานร่วมกับสื่อมวลชน สื่อสังคมออนไลน์เพื่อเป็นช่องทางในการให้ความรู้และสร้างความตระหนักรู้ด้านการปกป้องสิทธิมนุษยชน ต้องมีการนำเสนอผลงานการทำหน้าที่ของ กสม. ต่อสาธารณะในรอบปี มีการให้ข้อมูลป้อนกลับกับประชาชน เพื่อช่วยทำให้ประชาชนเข้าใจกระบวนการทำงาน ตลอดจนเป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้กับ กสม. ต่อสาธารณะมากขึ้น
650_7‡aรัฐธรรมนูญ‡zไทย‡xวิจัย
650_7‡aรัฐธรรมนูญ‡zไทย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
201674341.48 ล68บวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
201675341.48 ล68บ ฉ.2วิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด