ออกจากระบบ
เข้าสู่ระบบ
หรือ
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ชื่อผู้ใช้:
รหัสผ่าน:
ลืมรหัสผ่าน ?
ก
ก
ก
iOPAC
ค้นหา
ข่าวสาร
ข้อมูลสมาชิก
ยืมต่อ
ค่าปรับ
สถิติ
รายงาน
ช่วยเหลือ
คู่มือ
ปิด
ข้อมูลบรรณานุกรม
#1149539
แบบย่อ
|
แบบเต็ม
|
MARC
ตัวอย่าง
เพิ่มแท็ก
เพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แนะนำ
สั่งซื้อ
บันทึก
ส่งออก
Citation
ความนิยม
ประเภทวัสดุ
หนังสือ
ชื่อเรื่อง
การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลด้านการบริการของภาครัฐบาล กรณีศึกษาชุมชนจังหวัดสตูล : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ / นวพล แก้วสุวรรณ, ฐะปะนีย์ เทพญา, ฐาณิดาภัทฐ์ แสงทอง
ชื่อเรื่อง
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่อง การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลด้านการบริการของภาครัฐบาล กรณีศึกษาชุมชนจังหวัดสตูล
The Development of a Training Curriculum to bridge the Information and Digital Divide Gap for Government Services in Local Communities: Case Study in Satun Province, Thailand
Dewey Call #
303.483 น17ก
ผู้แต่ง
นวพล แก้วสุวรรณ
ผู้แต่งเพิ่มเติม
ฐะปะนีย์ เทพญา
ฐาณิดาภัทฐ์ แสงทอง
หัวเรื่อง
ความเหลื่อมล้ำทางดิจิทัล--วิจัย
ความเหลื่อมล้ำทางดิจิทัล--หลักสูตร--วิจัย
พิมพลักษณ์
ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2565
ชื่อเรื่อง
การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลด้านการบริการของภาครัฐบาล กรณีศึกษาชุมชนจังหวัดสตูล : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ / นวพล แก้วสุวรรณ, ฐะปะนีย์ เทพญา, ฐาณิดาภัทฐ์ แสงทอง
ชื่อเรื่อง
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่อง การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลด้านการบริการของภาครัฐบาล กรณีศึกษาชุมชนจังหวัดสตูล
The Development of a Training Curriculum to bridge the Information and Digital Divide Gap for Government Services in Local Communities: Case Study in Satun Province, Thailand
Dewey Call #
303.483 น17ก
ผู้แต่ง
นวพล แก้วสุวรรณ
ผู้แต่งเพิ่มเติม
ฐะปะนีย์ เทพญา
ฐาณิดาภัทฐ์ แสงทอง
พิมพลักษณ์
ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2565
หัวเรื่อง
ความเหลื่อมล้ำทางดิจิทัล--วิจัย
ความเหลื่อมล้ำทางดิจิทัล--หลักสูตร--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ
312 หน้า : ภาพประกอบ
LDR
06389nam a2200229 4500
005
20230322162010.0
008
230322s2564 th tha d
040
__
‡aSongkhla Rajabhat University
082
04
‡a303.483‡bน17ก
100
0_
‡aนวพล แก้วสุวรรณ
245
10
‡aการพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลด้านการบริการของภาครัฐบาล กรณีศึกษาชุมชนจังหวัดสตูล :‡bรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ /‡cนวพล แก้วสุวรรณ, ฐะปะนีย์ เทพญา, ฐาณิดาภัทฐ์ แสงทอง
246
30
‡aรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่อง การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลด้านการบริการของภาครัฐบาล กรณีศึกษาชุมชนจังหวัดสตูล
246
31
‡aThe Development of a Training Curriculum to bridge the Information and Digital Divide Gap for Government Services in Local Communities: Case Study in Satun Province, Thailand
260
__
‡aปัตตานี :‡bมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี,‡c2565
300
__
‡a312 หน้า : ‡bภาพประกอบ
520
__
‡aการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัล เพื่อศึกษาความต้องการการฝึกอบรมการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัล เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพหลักสูตรฝึกอบรมการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัล และเพื่อศึกษาผลการใช้หลักสูตรฝึกอบรมโดยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรมก่อนและหลังฝึกอบรมด้วยหลักสูตรและศึกษาความพึงพอใจของผู้รับการฝึกอบรม กรณีศึกษาชุมชนจังหวัดสตูล ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบการวิจัยและพัฒนาและมีการดำเนินการวิจัยโดยใช้รูปแบบผสมผสานวิธี ใช้แบบสอบถาม ประเด็นการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง แบบประเมินประสิทธิภาพหลักสูตรฝึกอบรม แบบทดสอบก่อนและหลังการฝึกอบรมหลักสูตร และแบบประเมินความพึงพอใจหลักสูตรฝึกอบรม กับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นประชาชนในอำเภอเมือง อำเภอมะนัง จังหวัดสตูลและผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งทำการคัดเลือกด้วยวิธีเจาะจง โดยการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีเชิงคุณภาพ โดยการสังเคราะห์เชิงเนื้อหาจากการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ตามแนวทางกระบวนการการจัดหมวดหมู่และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีเชิงปริมาณด้วยการใช้สถิติเชิงพรรณนา โดยใช้ค่าสถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าคะแนนทีและค่าคะแนนมาตรฐานซี ผลวิจัยพบว่า 1. สภาพการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลด้านการบริการของภาครัฐบาล ประชาชนส่วนใหญ่ไม่มีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ในการเข้าถึงสารสนเทศภาครัฐ และสารสนเทศอื่น ๆ ในชีวิตประจำวัน การไม่รับรู้ข่าวสารจากการประชาสัมพันธ์เป็นปัจจัยสำคัญที่นำไปสู่การเข้าไม่ถึงบริการภาครัฐบาล เช่นเดียวกับปัจจัยทางด้านช่วงวัย ซึ่งเป็นปัจจัยเสริมที่ส่งผลให้การรับรู้สารสนเทศเกิดความไม่เท่าเทียมกัน สืบเนื่องจาก ฐานะทางเศรษฐกิจของประชาชนในพื้นที่มีรายได้ที่ไม่แน่นอน ด้วยส่วนใหญ่ประชาชนมีรายได้มาจากการทำอาชีพเกษตรกรจึงอาจส่งผลให้การซื้ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ในการสื่อสารและเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ของภาครัฐเป็นไปได้ยากอีกทั้งแบรนด์และรุ่นของอุปกรณ์สื่อสารก็อาจจะไม่มีความทันสมัยต่อการรองรับสัญญาณเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้อย่างเพียงพอ นอกจากนี้ประชาชนในพื้นที่วิจัยส่วนใหญ่เป็นกลุ่มที่มีสองช่วงวัย คือ ประชาชนผู้สูงอายุและกลุ่มเยาวชน ดังนั้นประสบการณ์ในการใช้อุปกรณ์สื่อสารในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ รวมถึงความต้องการในการรับรู้ข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศและความรู้ทางด้านการบริการของภาครัฐบาลจึงไม่ใช้จุดประสงค์หลักในการแสวงหาความรู้ เช่นเดียวกันกับการรับรู้สารสนเทศทางด้านการบริการของภาครัฐบาล 2. ความต้องการฝึกอบรมการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลด้านการบริการของภาครัฐบาล ประชาชนส่วนใหญ่มีการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลที่ไม่คงที่ ไม่สม่ำเสมอและมีความเหลื่อมล้ำ เนื่องมาจากการที่ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงบริการหรือสารสนเทศของรัฐได้อย่างเหมาะสม อันจะส่งผลต่อการเกิดภาวะขาดความรู้บางประการ หรือเสียสิทธิประโยชน์ของตนเองที่ควรจะเป็นสวัสดิการหนึ่งของตนเอง นอกจากนี้ยังพบว่า ประชาชนในพื้นที่ทุกคนล้วนต้องการได้รับการฝึกอบรมการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลด้านการบริการของภาครัฐ เพื่อการสงวนสิทธิขั้นพื้นฐานของตนเองและมีความต้องการสารสนเทศด้านการบริการของภาครัฐอยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะในประเด็นเกี่ยวกับสารสนเทศและความรู้ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและเกี่ยวกับการบริการของภาครัฐบาลที่มีส่วนร่วมกับการเข้าถึงข้อมูลของชุมชน 3. การพัฒนาและหาประสิทธิภาพหลักสูตรฝึกอบรม พบว่า ในด้านโครงสร้างหลักสูตรฝึกอบรมมีความครบถ้วน ถูกต้อง เหมาะสมต่อการนำไปใช้ฝึกอบรม และสอดคล้องกับโครงการวิจัย ทั้งในหัวข้อชื่อหลักสูตรฝึกอบรม คำอธิบายหลักสูตรฝึกอบรม วัตถุประสงค์ของหลักสูตรฝึกอบรม หัวข้อเนื้อหาการฝึกอบรม การเขียนแผนการฝึกอบรมครบตามองค์ประกอบที่สำคัญทุกประเด็น กิจกรรมการฝึกอบรม/สื่อประกอบการฝึกอบรม การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล เอกสารอ้างอิงที่ใช้ในการฝึกอบรม ผู้เข้าร่วมฝึกอบรม โครงสร้างเวลาการฝึกอบรม มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดกิจกรรมการฝึกอบรมและสอดคล้องจุดเน้นสู่การพัฒนาและส่งเสริมผู้เรียนหรือผู้เข้าฝึกอบรมให้มีความสามารถและทักษะสู่ศตวรรษที่ 21 4. การหาประสิทธิภาพนวัตกรรมหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล กับประชาชนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ประสิทธิภาพ E1 / E2 ของอำเภอเมือง เท่ากับ 80.14 / 81.30 และอำเภอมะนัง เท่ากับ 80.38 / 80.90 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ คือ 80/80 แสดงให้เห็นว่า นวัตกรรมหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ โดยการใช้หลักสูตรฝึกอบรมโดยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรมก่อนและหลังฝึกอบรมด้วยหลักสูตรและศึกษาความพึงพอใจของผู้รับการฝึกอบรม พบว่า ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมอำเภอเมือง มีค่าคะแนนทีเฉลี่ยก่อนเข้าร่วมฝึกอบรมเท่ากับ 43.16 ในส่วนของคะแนนทีเฉลี่ยหลังเข้าร่วมฝึกอบรม มีค่าเท่ากับ 59.59 ซึ่งมีค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 38.06 ทั้งนี้ในส่วนของผู้เข้าร่วมฝึกอบรมอำเภอมะนัง มีค่าคะแนนทีเฉลี่ยก่อนเข้าร่วมฝึกอบรมเท่ากับ 42.77 โดยมีคะแนนทีเฉลี่ยหลังเข้าร่วมฝึกอบรมเท่ากับ 58.54 ซึ่งมีค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 36.86 และในส่วนของความพึงพอใจการเข้าร่วมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเฉพาะประเด็นด้านวิทยากรส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมสามารถนำสารสนเทศ และความรู้ที่ได้รับไปสู่การประกอบการตัดสินใจและทำให้ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมเกิดทักษะและความคิดที่หลากหลาย การประยุกต์ใช้จากการศึกษานี้สามารถนำไปใช้ในการบูรณาการความร่วมมือจากหน่วยงานราชการ ในท้องถิ่น หรือชุมชนในการจัดฝึกอบรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลด้านการบริการของภาครัฐบาลในชุมชนได้ อีกทั้งช่วยสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลด้านการบริการของภาครัฐให้แก่ประชาชนและหน่วยงานในท้องถิ่น ช่วยให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้และทักษะในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลในชีวิตประจำวันได้อย่างรอบคอบ ไม่ด่วนสรุป ไม่หลงเชื่อและสามารถตัดสินใจใช้ข้อมูลได้อย่างมีวิจารณญาณ สร้างสรรค์และน่าเชื่อถือไม่เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น
650
_7
‡aความเหลื่อมล้ำทางดิจิทัล‡xวิจัย
650
_7
‡aความเหลื่อมล้ำทางดิจิทัล‡xหลักสูตร‡xวิจัย
700
0_
‡aฐะปะนีย์ เทพญา
700
0_
‡aฐาณิดาภัทฐ์ แสงทอง
850
__
‡aSKRU
ทรัพยากร
เลือกห้องสมุด :
ทั้งหมด
วิทยาเขตสตูล
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บาร์โค้ด
เลขหมู่/เล่มที่
Collection
ห้องสมุดสาขา
สถานที่จัดเก็บ
สถานะ
201476
303.483 น17ก
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1
อยู่บนชั้น
จองทรัพยากร
สาขาที่รับ
วันที่คาดว่าจะรับ
ขอใช้หนังสือด่วน
เงื่อนไข
1. ส่งคำขอเวลา 8.30-11.00น รับหนังสือเวลา 16.00น.
2. ส่งคำขอหลังเวลา 11.00น. รับหนังสือในวันทำการถัดไป
3. ส่งคำขอ วันศุกร์ช่วงบ่าย หรือ วันเสาร์-อาทิตย์ รับหนังสือวันจันทร์ 16.00น.
4. ติดต่อรับหนังสือด่วนได้ที่ เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 3 *ภายใน 3 วัน*
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 2352
ความเห็น
|
บทวิเคราะห์
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แบ่งปันให้กับเพื่อนทั้งหมด
เพิ่ม Tag
สร้าง Tag ใหม่
แผนที่ตั้งทรัพยากร
Preview Dialog
Citation
อ้างอิง APA เวอร์ชัน 7
นวพล แก้วสุวรรณ, ฐะปะนีย์ เทพญา, และ ฐาณิดาภัทฐ์ แสงทอง. (2565).
การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลด้านการบริการของภาครัฐบาล กรณีศึกษาชุมชนจังหวัดสตูล :รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ .
ปัตตานี :มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
อ้างอิง MLA เวอร์ชัน 9
นวพล แก้วสุวรรณ, ฐะปะนีย์ เทพญา, และ ฐาณิดาภัทฐ์ แสงทอง.
การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลด้านการบริการของภาครัฐบาล กรณีศึกษาชุมชนจังหวัดสตูล :รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ .
ปัตตานี :มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2565.
อ้างอิง Chicago เวอร์ชัน 17
นวพล แก้วสุวรรณ, ฐะปะนีย์ เทพญา, และ ฐาณิดาภัทฐ์ แสงทอง. 2565.
การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลด้านการบริการของภาครัฐบาล กรณีศึกษาชุมชนจังหวัดสตูล :รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ .
ปัตตานี :มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
อ้างอิง Vancouver เวอร์ชัน 2
นวพล แก้วสุวรรณ, ฐะปะนีย์ เทพญา, และ ฐาณิดาภัทฐ์ แสงทอง. การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลด้านการบริการของภาครัฐบาล กรณีศึกษาชุมชนจังหวัดสตูล :รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ . ปัตตานี :มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี; 2565.
สถิติ
อันดับการยืม / จากทั้งหมด
ไม่มีการยืม
อันดับการใช้งานภายใน/จากทั้งหมด
ไม่มีการใช้งาน
คะแนน/ผู้โหวต
0.0/0
ใช้ล่าสุดเมื่อ
-
จำนวนการยืม
0
เปิดดู (ครั้ง)
104
เพิ่มไปยังรายการ
0
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด
ผลการทำงาน
Undefined result.