เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1149952    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง "เมืองสตูล" โดยใช้วิธีจัดการเรียนรู้แบบ CIPP Model ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม / พนัชกร พิทธิยะกุล, ขวัญดาว ปิ่นทองพันธุ์
Dewey Call #372.83 พ15ก
ผู้แต่งพนัชกร พิทธิยะกุล
ผู้แต่งเพิ่มเติมขวัญดาว ปิ่นทองพันธุ์
หัวเรื่องสังคมศึกษา--การศึกษาและการสอน--วิจัย
 สังคมศึกษา--กิจกรรมการเรียนการสอน--วิจัย
พิมพลักษณ์สงขลา : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2565
ชื่อเรื่องการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง "เมืองสตูล" โดยใช้วิธีจัดการเรียนรู้แบบ CIPP Model ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม / พนัชกร พิทธิยะกุล, ขวัญดาว ปิ่นทองพันธุ์
Dewey Call #372.83 พ15ก
ผู้แต่งพนัชกร พิทธิยะกุล
ผู้แต่งเพิ่มเติมขวัญดาว ปิ่นทองพันธุ์
พิมพลักษณ์สงขลา : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2565
หัวเรื่องสังคมศึกษา--การศึกษาและการสอน--วิจัย
 สังคมศึกษา--กิจกรรมการเรียนการสอน--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ[1-8],135 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 04325nam a2200193 4500
005 20230707161751.0
008 230707s2565 th a ‡‡‡ ‡ tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a372.83‡bพ15ก
1102_‡aพนัชกร พิทธิยะกุล
24510‡aการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง "เมืองสตูล" โดยใช้วิธีจัดการเรียนรู้แบบ CIPP Model ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม /‡cพนัชกร พิทธิยะกุล, ขวัญดาว ปิ่นทองพันธุ์
260__‡aสงขลา :‡bคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,‡c2565
300__‡a[1-8],135 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
520__‡aการวิจัยเรื่องการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง "เมืองสตูล" โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ CIPPA Mode ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง เมืองสตูล 2) เพื่อศึกษาผลการใช้หน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง "เมืองสตูล" โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ CIPPA Model ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และประเมินผลตามรายละเอียดดังนี้ 2.1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง "เมืองสตูล" โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบCIPPA Model ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2.2) ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง "เมืองสตูล" โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบCIPPA Mode ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ใช้ระเบียบวิจัยแบบปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR) ร่วมกับวิธีการวิจัยเชิงทดลองกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักในการวิจัยครั้งนี้ คือ 1) ผู้นำชุมชน 2) กลุ่มผู้บริหารสถานศึกษา 3) กลุ่มครูผู้สอนและ 4) กลุ่มนักเรียนนักศึกษา ด้วยวิธีการเก็บข้อมูลภาคสนามดังนี้ 1) การสัมภาษณ์ 2) การสนทนากลุ่มย่อย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์ม่มีโครงสร้าง 2) ประเด็นคำถามสำหรับการสนหนากลุ่มกับผู้ร่วมวิจัย และกลุ่มประชากรที่นำมาทตลองในครั้งนี้ คือ ผู้เรียนชั้นมัธยมศีกษาปีที่ 3 โรงเรียนควนโดนวิทยา อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง เมืองสตูลโดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ CIPPA Mode ในกลุ่มสระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมจำนวน 6 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เมืองสตูล และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจผลการวิจัยพบว่ ความต้องการในการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง "เมืองสตูล"โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ CIPPA Mode! ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ในครั้งนี้ให้ความสำคัญกี่ยวกับองค์ความรู้ เรื่อง เมืองสตูล ประกอบด้วย 6 หน่วยการเรียนรู้ดังนี้ 1) ลักษณะทั่วไปทางภูมิศาสตร์ 2) ประวัติความเป็นมา 3) ลักษณะทางประชากรและบุคคลสำคัญ4) ลักษณะทางเศรษฐกิจ 5 ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม และ 6) การอนุรักษ์และแน่วทางแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พบว่า ในภาพรวมมีระดับความต้องการอยู่ในระดับมากมีคำเฉลี่ยเท่กับ 4.24 และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อในแต่ละประเต็น มีระดับความต้องการสอดคล้องกันอยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยแยกเป็นรายข้อตามประเต็นที่พิจารณา ดังนี้ ด้านลักษณะทางภูมิศาสตร์ของจังหวัดสตูล มีค่าเฉลี่ยเท่กับ 4.32 ด้านประวัติความเป็นมา มีคำเฉลี่ยเท่ากับ 4.39 ด้านลักษณะทางประชากร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.18 ด้านลักษณะทางเศรษฐกิจ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.25 ด้านลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม มีค่เฉลี่ยเท่ากับ 9.38 และด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.13 องค์ประกอบของหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่นมีค่าความเหมาะสมโดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.99 ผลการใช้หน่วยการเรียนรู้ห้องถิ่น เรื่อง "เมืองสตูล" โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ CIPPAModel ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ที่ประเมินผลตามรายละเอียดดังนี้1) ผลสัมฤทธิ์ทงการเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง "เมืองสตูล" โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ CIPPA Mode ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.51 และความพึงพอใจด้านหลังการเรียน พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด คือ 1) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.50 2) ด้านผลลัพธ์ที่ได้จากการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.69 และ 3) ด้านการวัดและการประเมินผล ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.30 รองลงมาผู้เรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก คือ ด้านเนื้อหาสาระ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.35 ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.30 ตามลำดับ
650_7‡aสังคมศึกษา‡xการศึกษาและการสอน‡xวิจัย
650_7‡aสังคมศึกษา‡xกิจกรรมการเรียนการสอน‡xวิจัย
7000_‡aขวัญดาว ปิ่นทองพันธุ์
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
202432372.83 พ15กวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด