เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1150319    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการพัฒนาแบบจำลองของปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศทางสุขภาพของผู้สูงอายุมุสลิมจังหวัดปัตตานี / สุไม บิลไบ, อารยา เชียงของ
ชื่อเรื่องDevelopment of causal model affecting health information seeking behavior of muslim elderly people in Pattani Province
Dewey Call #613.0438 ส46ก
ผู้แต่งสุไม บิลไบ
ผู้แต่งเพิ่มเติมอารยา เชียงของ
หัวเรื่องผู้สูงอายุ--สุขภาพเเละอนามัย--วิจัย
พิมพลักษณ์ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2565
ชื่อเรื่องการพัฒนาแบบจำลองของปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศทางสุขภาพของผู้สูงอายุมุสลิมจังหวัดปัตตานี / สุไม บิลไบ, อารยา เชียงของ
ชื่อเรื่องDevelopment of causal model affecting health information seeking behavior of muslim elderly people in Pattani Province
Dewey Call #613.0438 ส46ก
ผู้แต่งสุไม บิลไบ
ผู้แต่งเพิ่มเติมอารยา เชียงของ
พิมพลักษณ์ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2565
หัวเรื่องผู้สูงอายุ--สุขภาพเเละอนามัย--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ[ก-ฏ], 116 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 03665nam a2200193 4500
005 20231213103053.0
008 231213s2565 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a613.0438‡bส46ก
1000_‡aสุไม บิลไบ
24510‡aการพัฒนาแบบจำลองของปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศทางสุขภาพของผู้สูงอายุมุสลิมจังหวัดปัตตานี /‡cสุไม บิลไบ, อารยา เชียงของ
24631‡aDevelopment of causal model affecting health information seeking behavior of muslim elderly people in Pattani Province
260__‡aปัตตานี :‡bมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี,‡c2565
300__‡a[ก-ฏ], 116 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
520__‡aงานวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพในการพัฒนาแบบจำลองของปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศทางสุขภาพของผู้สูงอายุมุสลิมจังหวัดปัตตานี ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่อ 1) พัฒนาแบบจำลองของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศทางสุขภาพ 2)เปรียบเทียบระดับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศทางสุขภาพของผู้สูงอายุมสลิมจังหวัดปัตตานี ที่มีปัจจัยส่วนตัวแตกต่างกัน 3) เปรียบเทียบระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุมุสลิมในจังหวัดปัตตานีที่มีพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศทางสุขภาพที่แตกต่างกัน และ 4) ศึกษาแนวทางการพัฒนาพฤติกรรมการแสวงหาสารสนทศทางสุขภาพแก่ผู้งอายุมสสิมในจังหวัดปัตตานี กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้สูงอายุมุสลิมที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปจำนวน 400 คน ได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน และผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศทางสุขภาพ ด้านการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพ และด้านมุสสิมและอิสลามศึกษา จำนวน 11 คนได้มาจากการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง โดยพิจารณาจากผลงานและความเชี่ยวชาญในสาขาที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบสัมภาษณ์สำหรับสนทนากลุ่ม ส่วนสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบียงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์การกระจาย คะแนนค่าสูงสุด คะแนนค่าต่ำสุด คำความเบ้ ค่าความโด่ง และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ การวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) และสถิติการเปรียบเทียบ independent t test ซึ่งผลการวิจัย พบว่า 1) ความรอบรู้ด้านสุขภาพมีอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศทางสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพล เท่ากับ 0.89 โดยแบบจำลองของปัจจัยเชิงสาเหตุสามารถอธิบายความแปรปรวนของความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศทางสุขภาพของผู้สูงอายุ ได้ร้อยละ 44 และ 63 ตามลำดับ 2) ผู้งอายุมสลิมจังหวัดปัตตานีที่มีปัจจัยส่วนตัวแตกต่างกันมีพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศทางสุขภาพในภาพรวมไม่แตกต่างกัน แต่เมื่อพิจารณารายด้านพบว่ามีความแตกต่างกันบางด้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อาทิ ด้านแหล่งที่ใช้ในการแสวงหาสารสนเทศทางสุขภาพด้านการวิเคราะห์และประเมินสารสนทศทางสุขภาพ และด้านปัญหาและอุปสรรคในการแสวงหาสารสนเทศทางสุขภาพ 3) ผู้สูงอายุมสลิมจังหวัดปัตตานีที่มีระดับความรอบรู้ต้านสุขภาพแตกต่างกันมีพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศทางสุขภาพแตกด่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (F-132.867, Sg - 0.000) 4) แนวทางการพัฒนาพฤติกรรมการแสวงหาสารสนทศทางสุขภาพของผู้สูงอายุมุลิมจังหวัดปัตตานีประกอบด้วย 8 แนวทางสำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาทักษะการเข้าถึงแห่ล่งชัอมูสสารสนเทศทางสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุ (2 พัฒนาผู้ดูแลผู้สูงอายุ (3) พัฒนาสื่อและช่องทางการสีอสาวในรูปแบบต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม ภาษาและศาสนาของผู้สูงอายุสลิม (4) พัฒนาพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศทางสุขภาพแก่ประชาชนก่อนถึงวัยสูงอายุเพื่อเตรียมพร้อมไว้ก่อน (5) ส่งเสริมการใช้มัสยิดและผู้นำศาสนาให้มีส่วนสำคัญในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารสุขภาพที่ถูกต้องและสอดคล้องกับหลักการศานา (6) พัฒนาทักษะและความรู้ของอาสาสมัครสาธารณสุข (7) ส่งเสริมให้มีการพัฒนาธรรมนูญสุขภาพของชุมชนและ (8) สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพื่อส่งเริมให้ พฤติกรรมแสวงหาสารสนเทศทางสุขภาพเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต
650_7‡aผู้สูงอายุ‡xสุขภาพเเละอนามัย‡xวิจัย
7000_‡aอารยา เชียงของ
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
202510613.0438 ส46กวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด